Page 40 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 40

2-22





                  ตารางที่ 2-4 ประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปที่มงานทำ จังหวัดกาฬสินธุ ป 2560-2565
                                                     ี

                             ี
                             ่
                              ี
                   ประชากรทมงานทำ (รอยละ)  2561  2562  2563  2564  2565  อัตราเพิ่ม (รอยละ)
                   ภาคเกษตรกรรม                57.32  57.16  59.41  59.49  52.66           -1.29
                   นอกภาคเกษตรกรรม             42.68  42.84  40.59  40.51  47.34            1.52
                              รวม                100    100     100     100     100


                  ที่มา : สำนักงานสถิติแหงชาติ (2565)

                             2) การถอครองและการใชที่ดินเพื่อการเกษตร
                                     ื
                                ประเทศไทยพื้นที่สวนใหญนั้นเปนพื้นที่การเกษตร เนื่องจากมีการเพาะปลูก และ
                  เลี้ยงสัตวเปนหลัก โดยจังหวัดกาฬสินธุ มีเนื้อที่ถือครองที่ดินเพอการเกษตร ดังตารางที่ 2-5 ในป 2564
                                                                      ื่
                  จังหวัดกาฬสินธุ มีเนื้อที่ถือครองเพื่อการเกษตรทั้งหมด 2,672,715 ไร โดยเปนเนื้อที่ของตนเอง

                  1,901,061 ไร คิดเปนรอยละ 71.13 และเปนเนื้อที่ของผูอื่น 771,654 ไร คิดเปนรอยละ 28.87
                  ของเนื้อที่ถือครองเพื่อการเกษตรทั้งหมด จากขอมูลดังกลาว พบวา ในปจจุบันเนื้อที่ถือครองเพ่อ
                                                                                                      ื
                  การเกษตรที่เปนเนื้อที่ของตนเองมีสัดสวนมากกวาเนื้อที่ถือครองเพื่อการเกษตรที่เปนเนื้อที่ของผูอน
                                                                                                      ่
                                                                                                      ื
                  และเมื่อพิจารณาขอมูลเนื้อที่ที่ถือครองเพื่อการเกษตรจังหวัดกาฬสินธุ ระหวางป 2555-2564 พบวา
                  เนื้อที่ถือครองเพื่อการเกษตร ลดลงรอยละ 0.49 เมื่อจำแนกเนื้อที่ถือครองเพื่อการเกษตรที่เปนเนื้อท ี ่
                                                                                                      ั
                  ของตนเองและเนื้อที่ถือครองเพื่อการเกษตรที่เปนเนื้อที่ของผูอื่น พบวา ลดลงในทิศทางเดียวกน
                   ิ
                  คดเปนรอยละ 0.48 และ 0.49 ตามลำดับ
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45