Page 38 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 38

2-20





                                                                                                      
                                                                                           
                  พื้นที่ของอำเภอคำมวงและอำเภอสามชัย ดวยวิธีการทาบกิ่งหรือติดตากับตนตอพุทราพันธุจัมโบ หรือตน
                                                                                                      
                  ตอพุทราพันธุพื้นบานที่สมบูรณแข็งแรง ไมมีโรค หรือตามความเหมาะสม มีการบำรุงตนพุทราดวยปุย
                  หมักหรือปุยคอกและกำจัดวัชพืชอยางสม่ำเสมอ หรือดูแลตามความเหมาะสมของแตละพื้นที่ ภายหลัง
                  จากการเก็บเกี่ยวผลผลิตเสร็จเรียบรอย ควรทำการตัดแตงตนทุกป เพื่อใหกิ่งใหมสามารถเจริญเติบโต

                                                                                                      ่
                                                                                                      ิ
                                                                                 ้
                  และใหผลผลิตไดดีกวากิ่งเดิม หรือในกรณีที่ตนพุทราแผกิ่งกวาง ควรทำนั่งรานคำ เพื่อรองรับน้ำหนักของกง
                  พุทราใหมั่นคงแข็งแรง นอกจากนี้การบำรุงดวยปุยหมักน้ำนม ควรทำในระยะกอนการเก็บเกี่ยวผลผลิต
                  โดยสวนผสมของปุยหมักน้ำนมอยางนอยตองมีสวนผสมของนมวัวสด ไขไก น้ำตาลทราย น้ำหวาน รำ
                  ออน นมเปรี้ยว ถั่วเหลืองปน เปนตน โดยฉีดพนทางใบหรือผสมน้ำรดบำรุงราก อยางนอยเดือนละ 2

                  ครั้ง อีกทั้งยังตองมีการปองกันการเขาทำลายของแมลวันทองดวยการกางมุงใหกับตนพุทรา โดยมุงท ่ ี
                  นำมากางมีลักษณะเปนตาขาย มีโครงสรางที่ความมั่นคงแข็งแรง ความสูงไมนอยกวา 2.5 เมตร จาก
                  ขั้นตอนกระบวนการผลิตดังกลาว ทำใหพุทรานมบานโพนมีคุณภาพดเปนที่นิยมของผูบริโภค (กรม
                                                                             ี
                  ทรัพยสินทางปญญา, 2565)

                                 ื
                                                    
                             3) พชทางเลือกในอนาคต ไดแก มะมวง และแตงโม
                                                           
                                                      
                                        (1) มะมวง
                                      
                                     จังหวัดกาฬสินธุเปนอีกหนึ่งพื้นที่ที่มีศักยภาพในการผลิตมะมวงคุณภาพ ในพื้นท ่ ี
                  สามารถปลูกมะมวงไดหลากหลายพันธุ โดยพนธุที่แนะนำเปนทางเลือก เชน พันธุน้ำดอกไมสีทอง และ
                                                        ั
                                                                                                    
                                                                             ั
                                             ั้
                  พันธุมหาชนก เนื่องจากมะมวงทง 2 พันธุนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งมะมวงพนธุน้ำดอกไมสีทองเปนมะมวงท ี่
                                                                                       
                  มีรสชาติหวานและลักษณะเนื้อแนนเปนที่นิยมของตลาดตางประเทศ ปจจุบันพื้นที่ปลูกหลักอยูในเขต
                  อำเภอหนองกุงศรี อำเภอหวยเม็ก อำเภอทาคันโท อำเภอรองคํา อำเภอยางตลาด และอำเภอกมลาไสย
                                                      ื่
                  ซึ่งเกษตรกรในพื้นที่มการรวมกลุมกันผลิตเพอสงออกตลาดตางประเทศทั้งญี่ปุน จีน เกาหลีและประเทศ
                                    ี
                  แถบยุโรป ซึ่งผลผลิตที่ไดคณภาพตามมาตรฐานการสงออกจะมบริษทเอกชนรับซอในปริมาณทไมจํากัด
                                                                      ี
                                                                          ั
                                                                                     ื้
                                                                                                ี่
                                        ุ
                  โดยที่มะมวงพันธุน้ำดอกไมน้ำสีทองเกษตรกรสามารถขายสงบริษัทรับซื้อไดเฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.16 บาท
                  สวนมะมวงพันธุมหาชนก เฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.7 บาท ผลผลิตที่เหลือจากการสงออกนำมาจำหนายใน
                                                                                                      ี
                  ประเทศ ทำใหการปลูกมะมวงพันธุน้ำดอกไมสีทองและพันธุมหาชนกในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุเปนอก
                  หนึ่งทางเลือกที่นาสนใจ เนื่องจากมีตลาดรองรับและขายไดราคาดี
                                        (2) แตงโม
                                     แตงโมเปนพืชอีกชนิดหนึ่งที่มีชือเสียงของจังหวัดกาฬสินธุ โดยที่ผานมามีเกษตรกร
                                                            ่
                  ปลูกแตงโมทดแทนการปลูกขาว เนื่องจากปลูกและดูแลรักษางาย พันธุแตงโมที่เกษตรกรปลูกและไดรับ
                                          
                                                                                                      
                  ความนิยมจากผูบริโภค ไดแก กินรี โอฬาร ซุปเปอรบิก และตอรปโด เปนตน สำหรับผลผลิตจะมีพอคา
                                                              ๊
                               
                  คนกลางจากทั่วประเทศมารับซื้อถึงที่ นอกจากนี้ยังมีตลาดโคกดอนหัน อำเภอยางตลาด ซึ่งเปนตลาด
                  ขายสงแตงโมขนาดใหญที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยจะมีพอคาแมคามารับแตงโมไปจําหนาย
                  ตลอดทั้งวัน ทำใหพอคาแมคาในตลาดโคกดอนหันและเกษตรกรผูปลูกแตงโมในจังหวัดกาฬสินธุมีรายได

                  เพิ่มขึ้นดวย
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43