Page 63 - Land Use Plan of Thailand
P. 63

2-35





                                           - เร่งรัดกลไกการพัฒนาแหล่งน้ าและปรับปรุงระบบการเก็บกักน้ า

                  ต้นทุน รวมทั้งระบบการกระจายน้ า
                                           - เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการดูแลรักษาทรัพยากรน้ า
                                           - ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรน้าของประเทศ

                                       (1.5)  ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
                                           - ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งได้รับการรักษาฟื้นฟูให้มีความ
                  สมบูรณ์และยั่งยืน เป็นฐานการพัฒนาประเทศทางเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
                                           - ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งได้รับการดูแลรักษาอย่างเป็นระบบ
                  และมีประสิทธิภาพเพื่อลดมลพิษและผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนและระบบนิเวศ

                                           - เกิดความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ ลดความ
                  ขัดแย้งของการพัฒนาที่ใช้ฐานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง บรรเทาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและลด
                  ภัยพิบัติทางธรรมชาติ

                                           - มีระบบบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่มี
                  ประสิทธิภาพบนพื้นฐานของการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ลดความเหลื่อมล้ า สร้างความเป็นธรรม
                  สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ กฎหมาย ข้อตกลงระหว่างประเทศต่างๆ ที่ประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิก
                  โดยยึดถือผลประโยชน์ของประเทศเป็นส าคัญ

                                       (1.6)  ความหลากหลายทางชีวภาพ
                                           - ระบบการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศมี
                  เอกภาพและมีประสิทธิภาพ
                                           - ระบบการวิจัยและนวัตกรรมด้านความหลากหลายทางชีวภาพของ

                  ประเทศ มีทิศทางที่ชัดเจน ในการสร้างสมดุลในการอนุรักษ์ควบคู่ไปกับการใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ
                  ภายใต้ Thailand 4.0 และยกระดับการวิจัยและพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคอาเซียน
                                           - ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถยกระดับเป็นจุดแข็งของ
                  ประเทศที่สามารถใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและเป็นเครื่องมือในการลดความเลื่อมล้ า สร้างความเป็น

                  ธรรมในสังคม อย่างยุติธรรมและเท่าเทียม สอดคล้องกับการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
                                           - การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชน และภาคส่วนต่างๆ ในการอนุรักษ์
                  ใช้ประโยชน์และได้รับผลประโยชน์จากฐานความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน เพื่อยกระดับคุณภาพ

                  ชีวิตและสร้างเสริมความตระหนักถึงคุณค่าและความส าคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ
                                       (1.7)  สิ่งแวดล้อม
                                           - ระบบบริหารจัดการมลพิษที่แหล่งก าเนิดมีประสิทธิภาพส่งผลต่อ
                  คุณภาพสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตที่ดีส าหรับประชาชน
                                           - การผลิตและการบริโภคสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมนาไปสู่การ

                  เจริญเติบโตบนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
                                           - ความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน และประชาชนในการจัดการ
                  มลพิษท าให้เกิดความไว้วางใจและความส าเร็จในการลดมลพิษ

                                       (1.8)  ระบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68