Page 25 - Land Use Plan of Thailand
P. 25

1-7





                               “ดิน” หมายถึง เทหวัตถุธรรมชาติ (natural body) ที่เกิดจากการสลายตัวของหินและ

                  แร่ธาตุต่างๆ ผสมคลุกเคล้ากับอินทรียวัตถุ ซึ่งปกคลุมผิวดินโลก อยู่เป็นชั้นบางๆ เป็นวัตถุที่ค้ าจุนการ
                  เจริญเติบโตและการทรงตัวของพืช ดินประกอบด้วยแร่ธาตุที่เป็นของแข็ง อินทรียวัตถุ น้ า และอากาศ
                  ที่มีสัดส่วนแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2557)

                        1.6.3  การใช้ที่ดิน

                               “กำรใช้ที่ดิน”  หมายถึง  การจัดการที่ดินตามที่มนุษย์ต้องการ  ซึ่งรวมทั้งการใช้ที่ดินใน

                  ชนบท เขตชานเมือง และเขตอุตสาหกรรม เป็นต้น (FAO, 1993)

                               “กำรใช้ที่ดิน” หมายถึง ผลของความพยายามของมนุษย์ ในการด าเนินการเปลี่ยนแปลง

                  ลักษณะทางกายภาพพื้นที่ของทรัพยากรที่มีอยู่ เพื่อสนองความต้องการของตนเอง (Vink, 1975)

                        1.6.4  การวางแผนการใช้ที่ดิน หมายถึง การวิเคราะห์และประเมินข้อมูลทางกายภาพ

                  และ ทางเศรษฐกิจสังคมอย่างเป็นระบบ เพื่อก าหนดวิธีการหรือคาดการณ์การใช้พื้นที่ไว้ล่วงหน้า
                  ส าหรับเป็นแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามความต้องการ
                  ของชุมชน สร้างความมั่นคงต่อชีวิตเกษตรกร ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และความมั่นคงทางสังคมใน

                  การน าไปสู่การพัฒนาพื้นที่อย่างยั่งยืน

                        1.6.5  ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) ได้ให้ความหมายของการวางแผนการใช้ที่ดินว่า

                  เป็นกระบวนการของการเปลี่ยนแปลง ที่เกี่ยวข้องกับการแสวงหาใช้ประโยชน์จากทรัพยากร เป็นการ
                  ก าหนดทิศทางของการลงทุน แนวทางของการพัฒนาเทคโนโลยี และเป็นการเปลี่ยนแปลงของหน่วยงาน

                  ต่างๆ ให้ด าเนินการอยู่ในภาพรวมเดียวกัน และเป็นการเพิ่มศักยภาพทั้งในปัจจุบันและ
                  ในอนาคตเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ (NRC, 1975 และ ADB, 2012)

                               “กำร ั นำอ  ำง ั่ง  น”หมายถึง การพัฒนาที่มีดุลยภาพระหว่างมิติทางเศรษฐกิจ

                  สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เพื่อความอยู่ดีมีสุขของประชาชนตลอดไป (ส านักงาน
                  คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2546)


                        1.6.6  กระบวนการวิเคราะห์ DPSIR
                               DPSIR (Driver-Pressure-State-Impact-Responses Framework)หมายถึง กรอบ

                  การท างานส าหรับอธิบายปฏิสัมพันธ์ระหว่างสังคมกับสิ่งแวดล้อม ผลกระทบของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อม
                  จากการพึ่งพาซึ่งกันและกัน กรอบการท างานนี้เป็นส่วนเสริมของรูปแบบการตอบสนองต่อความกดดัน

                  ของรัฐที่พัฒนาขึ้น โดยขั้นตอนแรกจะรวบรวมข้อมูลและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนประกอบต่างๆ ที่อยู่ในห่วง
                  โซ่ DPSIR แล้วการเชื่อมต่อที่เป็นไปได้ระหว่างด้านต่างๆ เหล่านี้ซึ่งถูกตั้งสมมติฐานไว้ ด้วยการใช้กรอบ
                  การสร้างแบบจ าลอง DPSIR ท าให้สามารถวัดประสิทธิภาพของการตอบสนองที่วางไว้กรอบแนวคิด

                  DPSIR มีสาระส าคัญคือกิจกรรมของมนุษย์เป็นตัวขับเคลื่อนในการสร้างภาวะกดดัน แก่สิ่งแวดล้อม
                  (Pressure) ส่งผลให้สถานภาพของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแปรเปลี่ยนไป (State) สภาพ
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30