Page 193 - rubber
P. 193

ผก-5





                            - ปลูกได้ในพื้นที่ลาดชันและพื้นที่ที่มีความชื้นสูง ไม่แนะน าให้ปลูกในพื้นที่ที่มีหน้าที่ดินตื้น

                  และมีระดับน้ าใต้ดินสูง

                            อาร์อาร์ไอเอ็ม 600
                            - ผลผลิตเฉลี่ย 240 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี
                            - การเจริญเติบโตปานกลาง เปลือกเดิมบางและเปลือกงอกใหม่ หนาปานกลาง

                            - ควรใช้ระบบกรีดครึ่งล าต้น วันเว้นวัน

                            - ต้านทานโรคราแป้งและโรคใบจุดนูนปานกลาง อ่อนแอต่อโรคราสีชมพู อ่อนแอมากต่อ
                  โรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทราและโรคเส้นด า มีต้นเปลือกแห้งจ านวนน้อย ต้านทานลมปานกลาง

                            - ปลูกได้ในพื้นที่ลาดชัน ไม่แนะน าให้ปลูกในพื้นที่ที่หน้าดินตื้น และพื้นที่ที่มีระดับน้ าใต้ดินสูง

                            - ข้อสังเกต : ไม่ควรปลูกในพื้นที่ที่มีโรคใบร่วงไฟทอปโทรา และโรคเส้นด าระบาดอย่างรุนแรง
                        1.2  กลุ่มที่ 2 พันธุ์ยางผลผลิตน้ ายาง และเนื้อไม้สูง
                            ได้แก่ พันธุ์ พีบี 235 อาร์อาร์ไอซี 110

                            พีบี 235
                            - ระยะก่อนเปิดกรีดเจริญเติบโตดีมาก เปิดกรีดได้เร็ว ความสม่ าเสมอของขนาดล าต้นทั้ง

                  แปลงดี ท าให้มีจ านวนต้นเปิดกรีดมาก ระยะระหว่างกรีดเจริญเติบโตปานกลาง

                            - ระยะยางอ่อนแตกกิ่งเร็ว กิ่งมีขนาดเล็กจ านวนมาก และทยอยทิ้งกิ่งด้านล่าง
                  เมื่ออายุเพิ่มขึ้นเหลือกิ่งขนาดกลาง 4-5 กิ่งในระดับสูง มีพุ่มใบค่อนข้างบาง ทรงพุ่มมีขนาดใหญ่เป็นรูปกลม

                            - เริ่มผลัดใบช้าและทยอยผลัดใบ
                            - เปลือกเดิมหนาปานกลาง เปลือกงอกใหม่บางระบบกรีดครึ่งล าต้น วันเว้นวัน

                            - ผลผลิตน้ ายาง เฉลี่ย 300 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี สูงกว่าพันธุ์ อาร์อาร์ไอเอ็ม 600 ที่ปลูกใน

                  แปลงทดลองเดียวกัน
                            - ต้นยางอายุ 18 ปี ให้ผลผลิตเนื้อไม้ส่วนล าต้น 0.32 ลูกบาศก์เมตรต่อต้น คิดเป็น 24

                  ลูกบาศก์เมตรต่อไร่

                            - ต้านทานใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทราปานกลาง อ่อนแอมากต่อโรคราแป้ง และโรคใบจุดนูน
                  ต้านทานโรคเส้นด าปานกลางและต้านทานดีต่อโรคสีชมพู

                            - มีจ านวนต้นยางแสดงอาการเปลือกแห้งค่อนข้างมาก

                            - ต้านทานลมปานกลาง
                            - ไม่แนะน าให้ปลูกในพื้นที่ลาดชัน พื้นที่ที่มีหน้าดินตื้น และพื้นที่ที่มีระดับน้ าใต้ดินสูง

                            - ข้อสังเกต : ยางพันธุ์นี้มีการเจริญเติบโตดีมาก เปิดกรีดได้เร็วเนื่องจากทรงพุ่มขนาดใหญ่
                  ไม่ควรปลูกระยะระหว่างต้นน้อยกว่า 3 เมตร

                            - ข้อจ ากัด : ไม่แนะน าการกรีดถี่ที่มีวันกรีดติดต่อกัน เพราะต้นยางจะเกิดอาการเปลือกแห้งมาก






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา                             กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198