Page 19 - rambutan
P. 19

1-3






                      1.4.2  กำรรวบรวมข้อมูลทำงด้ำนเศรษฐกิจและสังคม
                          ท าการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) และข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)

                          1)  ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ใช้แบบสอบถามข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจและสังคม

                  ส ารวจข้อมูลจากเกษตรกรตัวอย่างผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจเงาะ โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง ซึ่งอาศัยความน่าจะ
                  เป็นที่ระดับความเชื่อมั่น 90%±10 ในกลุ่มชุดดินที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) กลุ่มชุดดินที่มีระดับ

                  ความเหมาะสมปานกลาง (S2) และกลุ่มชุดดินที่มีระดับความเหมาะสมเล็กน้อย (S3)

                          2)  ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ได้แก่ ข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจน
                  ข้อมูลทางด้านแผนงาน ยุทธศาสตร์ และนโยบายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพืชเศรษฐกิจเงาะโดยการรวบรวม

                  ข้อมูลต่าง ๆ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


                      1.4.3  กำรน ำเข้ำและวิเครำะห์ข้อมูล
                          การน าเข้าและวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์และใช้

                  โปรแกรมส าเร็จรูปต่าง ๆ ซึ่งการวิเคราะห์ข้อมูลจะท าการวิเคราะห์ข้อมูลเฉพาะด้าน มีรายละเอียดดังนี้

                          1)  การประเมินคุณภาพที่ดินแยกตามกลุ่มชุดดินพร้อมทั้งจัดท าแผนที่ความเหมาะสม
                  ของพืชเศรษฐกิจเงาะ โดยจ าแนกระดับความเหมาะสมของที่ดิน เป็น 4 ระดับ คือ

                            S1   หมายถึง  เหมาะสมสูง

                            S2   หมายถึง  เหมาะสมปานกลาง
                            S3   หมายถึง  เหมาะสมเล็กน้อย

                            N    หมายถึง  ไม่มีความเหมาะสม

                          2)  ซ้อนทับแผนที่กลุ่มชุดดิน สภาพการใช้ที่ดิน เขตป่าไม้ตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี

                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดิน แผนที่เขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ขอบเขตการปกครอง แผนที่
                  เส้นชั้นน ้าฝนโดยใช้โปรแกรมในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

                          3)  สร้างเงื่อนไขเพื่อก าหนดเขตการใช้ที่ดินเงาะ โดยมีหลักการดังต่อไปนี้

                            - เป็นพื้นที่อยู่นอกเขตป่าไม้ตามกฎหมาย และภายใต้ข้อห้ามการใช้ที่ดินเพื่อการ

                  เกษตรกรรมตามมติคณะรัฐมนตรี (เขตป่าไม้ตามกฎหมาย ที่ใช้ศึกษาเป็นเขตโดยประมาณเท่านั้นไม่
                  สามารถอ้างอิงทางกฎหมายได้เพื่อความถูกต้องควรตรวจสอบกับหน่วยงานที่รับผิดชอบก่อนน าไปใช้จริง)

                            - พิจารณาพื้นที่ปลูกเงาะจากแผนที่สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินที่อยู่นอกเขตป่าไม้

                  ตามกฎหมายและภายใต้ข้อห้ามการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมตามมติคณะรัฐมนตรีของแต่ละระดับ
                  ความเหมาะสม

                            - ก าหนดเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะโดยพิจารณาจากสถานภาพของทรัพยากร

                  ต่าง ๆ และความเหมาะสมของที่ดินร่วมด้วย และจ าแนกเป็น 3 เขตการใช้ที่ดิน ได้แก่
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24