Page 153 - rambutan
P. 153

3-79





                  ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 13,771.43 บาทต่อไร่ และมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ

                  2.03 (ตารางที่ 3-28)

                                    เงาะแยกตามช่วงอายุที่ปลูกในพื้นที่ภาคตะวันออก พบว่า ผลตอบแทนการผลิต
                  มากที่สุดในช่วงที่เงาะมีอายุ 11-20 ปี กล่าวคือ ผลผลิตเฉลี่ย 1,521.96 กิโลกรัมต่อไร่ มูลค่าผลผลิต

                  37,531.53 บาทต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 15,202.17 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผันแปร 12,782.83 บาทต่อไร่

                  (ร้อยละ 84.09) และต้นทุนคงที่ 2,419.34 บาทต่อไร่ (ร้อยละ 15.91) ค่าใช้จ่ายที่เป็นต้นทุนผันแปร

                  ส่วนใหญ่เป็นค่าแรงงาน 6,115.89 บาทต่อไร่ (ร้อยละ 47.84) ได้รับผลตอบแทนเหนือต้นทุนที่เป็น     เงิน
                  สด 27,814.77 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปร 24,748.70 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือ

                  ต้นทุนทั้งหมด 22,329.36 บาทต่อไร่ และมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 2.47 เงาะปีที่ 1

                  และปีที่ 2-3 เกษตรกรยังไม่มีรายได้แต่มีค่าใช้จ่ายในการปลูกและดูแลรักษาเนื่องจากเงาะยังไม่ให้ผลผลิต

                  ผลตอบแทนการผลิตทุกประเภทจึงขาดทุน กล่าวคือ ปีที่ 1 ผลตอบแทนเหนือต้นทุนที่เป็นเงินสดขาดทุน
                  3,325.39 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรขาดทุน 5,123.71 บาทต่อไร่ และผลตอบแทน

                  เหนือต้นทุนทั้งหมดขาดทุน 7,428.59 บาทต่อไร่ ปีที่ 2-3 ผลตอบแทนเหนือต้นทุนที่เป็นเงินสดขาดทุน

                  3,999.60 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรขาดทุน 5,955.79 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือ
                  ต้นทุนทั้งหมดขาดทุน 8,053.66 บาทต่อไร่ ในช่วงอายุที่ให้ผลผลิตจะเห็นว่า ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยส่วนใหญ่

                  เป็นค่าแรงงานมากที่สุดร้อยละ 42.67-50.07 ของต้นทุนผันแปร เป็นแรงงานคนมากกว่าแรงงาน

                  เครื่องจักร และมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมดมากกว่า 1 (2.13-2.47) แสดงว่า ทุกช่วงอายุที่เงาะ
                  ให้ผลผลิตเกษตรกรจะได้รับผลก าไรจากการลงทุน (ตารางที่ 3-29)

                                    การผลิตเงาะตลอดช่วงอายุปีที่ 1-25 คิดเป็นมูลค่าปัจจุบัน (NPV) ในพื้นที่ภาค

                  ตะวันออกได้ผลผลิตเฉลี่ยต่อปี  1,383.64 กิโลกรัมต่อไร่ มูลค่าปัจจุบันของต้นทุน รายได้และ
                  ผลตอบแทนการผลิต มีดังนี้ ต้นทุนทั้งหมดเฉลี่ยต่อปี  13,291.26 บาทต่อไร่ รายได้เฉลี่ยต่อปี

                  26,230.10 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยต่อปี 12,938.84 บาทต่อไร่ อัตราผลตอบแทนภายใน

                  (IRR) ร้อยละ 47.40 ต่อปี อัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนเท่ากับ 1.97 จุดคุ้มทุนในปีที่ 5 นับว่า ได้รับ

                  รายได้ต่อปีจากการลงทุนค่อนข้างต ่าแต่ระยะเวลาคืนทุนค่อนข้างเร็ว คือปีที่ 2 หลังจากปีที่เริ่มให้ผล
                  ผลิต (ตารางที่ 3-30)
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158