Page 24 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจไพล
P. 24

2-12





                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า การระบายน้ า
                  ค่อนข้างเลว และมีน้ าท่วมขังในช่วงฤดูฝน บางพื้นที่ดินเป็นกรดจัด ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ใช้ท านา บางแห่ง

                  ใช้ปลูกอ้อย
                            1.19) หน่วยที่ดินที่ 19 19I 19d3c 19hi 19hiI และ19hi,d3c
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบ ดินลึกมาก การระบายน้ าดีปานกลาง
                  ถึงค่อนข้างเลว ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ า อัตราร้อยละความอิ่มตัวเบสต่ า
                  ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย หรือดินทรายปนดินร่วน และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.0-5.5
                  ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย หรือดินเหนียว และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.5-6.5

                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย หรือเป็นทราย
                  และดินล่างแน่นทึบ การระบายน้ าค่อนข้างเลว และมีน้ าท่วมขังในช่วงฤดูฝน บางพื้นที่ดินเป็นกรดจัด
                  ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ใช้ท านา บางแห่งใช้ปลูกอ้อย
                            1.20) หน่วยที่ดินที่ 20 20I 20hi และ20hiI
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบ ดินลึกมาก การระบายน้ าดี
                  ปานกลางถึงค่อนข้างเลว ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนปานกลางถึงค่อนข้างสูง

                  อัตราร้อยละความอิ่มตัวเบสค่อนข้างต่ าถึงปานกลาง ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย และค่าความ
                  เป็นกรดเป็นด่าง 5.0-7.0 ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 7.0-8.0
                  และมีค่าการน าไฟฟ้า 4-8 เดซิซีเมนส์ต่อเมตร

                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เป็นดินเค็ม ซึ่งจะมีปริมาณธาตุโซเดียมสูง
                  จนเป็นพิษต่อพืช เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย มีโครงสร้างของดินไม่ดี ค่อนข้างแน่นทึบ กลุ่มชุดดินนี้มีการ
                  ใช้ท านา บริเวณที่เค็มจัดจะปรากฏคราบเกลือบนผิวดิน ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรไม่ได้ มีป่าละเมาะ
                  และไม้พุ่มหนามขึ้นกระจัดกระจายเป็นหย่อมๆ บางแห่งเป็นแหล่งท าเกลือสินเธาว์

                            1.21) หน่วยที่ดินที่ 21 และ21I
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบ ดินลึกมาก การระบายน้ า
                  ค่อนข้างเลว ดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนปานกลางถึงค่อนข้างสูง
                  อัตราร้อยละความอิ่มตัวเบสสูง ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วน และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 6.0-7.0

                  ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียว และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 7.0-8.0
                                ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินค่อนข้างเป็นทราย เสี่ยงต่อการขาดน้ า บางพื้นที่
                  อาจได้รับอันตรายจากน้ าไหลบ่าท่วมขัง ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ใช้ท านา
                            1.22) หน่วยที่ดินที่ 22 22I 22d3c 22hi 22hiI 22hi,d3c 22sa 22saI 22sa,d3c

                  22sa,d3cI 22tks และ22tksI
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบ ดินลึกมาก การระบายน้ าค่อนข้างเลว
                  ถึงดีปานกลาง ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ า อัตราร้อยละความอิ่มตัวเบส
                  ค่อนข้างต่ าถึงปานกลาง ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.5-6.5

                  ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.5-6.5 หากพบคราบเกลือจะมีค่า
                  การน าไฟฟ้า 2-4 เดซิซีเมนส์ต่อเมตร และดินล่างค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 6.5-8.0









                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจไพล                         กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29