Page 70 - pineapple
P. 70

3-12






                  เป็นกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) การระบายน้ําดี ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ํา ความจุในการแลกเปลี่ยน

                  ประจุบวกต่ํา ความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างต่ํา ซึ่งแบ่งตามการพัฒนาพื้นที่เพื่อเกษตรกรรมได้เป็น
                  2 ประเภท คือ
                                    (2.12.1)   หน่วยที่ดินทั่วไป ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 61 61B 61C และ61C

                                    (2.12.2)   หน่วยที่ดินในเขตชลประทาน (I) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 61I
                               (2.13)   หน่วยพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน ประกอบด้วยพื้นที่ภูเขาและเทือกเขา ลักษณะ
                  และสมบัติของดินที่พบไม่แน่นอนมีทั้งดินลึกและดินตื้น มีความอุดมสมบูรณ์แตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดของ
                  วัตถุต้นกําเนิด มักมีเศษหินหรือก้อนหินโผล่กระจัดกระจายทั่วไป ส่วนใหญ่ยังปกคลุมด้วยป่าไม้ หลายแห่ง
                  มีการทําไร่เลื่อนลอย คุณสมบัติของหน่วยที่ดินไม่แน่นอน ลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ตาม

                  ธรรมชาติแตกต่างกันไป ควรอนุรักษ์ไว้เพื่อเป็นแหล่งต้นน้ําลําธารและเพื่อวัตถุประสงค์ในด้านการอนุรักษ์
                  สิ่งแวดล้อม ได้แก่ หน่วยที่ดิน SC
                               (2.14)   หน่วยเบ็ดเตล็ด ประกอบด้วย ที่ดินหินพื้นโผล่ (RC) ที่ดินเต็มไปด้วยก้อนหิน

                  (RL) พื้นที่ปศุสัตว์ (AF) สนามบิน (AP) พื้นที่เลี้ยงสัตว์น้ํา (AQ) หาดทราย (BEACH) สุสาน (CEM) ดินตะกอน
                  ชะวากทะเลปะปนกัน (EC) หน้าผาชัน (ES) สนามกอล์ฟ (GOLF) เกาะ (ISLAND) พื้นที่ทหาร (MA)
                  พื้นที่ลุ่มชื้นแฉะ (MARSH) เหมืองแร่ (MIN) ที่ดินดัดแปลง (ML) บ่อขุด (P) นาเกลือ (SALT) ทะเล (SEA)
                  พื้นที่อยู่อาศัย (U) และพื้นที่น้ํา (W)












































                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจสับปะรดโรงงาน                        กองนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75