Page 69 - pineapple
P. 69

3-11






                                   (2.9.3)  หน่วยที่ดินในเขตชลประทาน (I) ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 45I 45gmI

                  45BI 45BgmI 45CI 45CcalI 46I 46BI 46B/47BI 46CI 48I 48gmI 48BI 48B/56BI 48B/RCI 48CI
                  48C/56CI 48C/RCI 49I 49danI 49BI และ 49BsheetI
                                   (2.9.4)  หน่วยที่ดินที่มีคันนาในเขตชลประทาน (bI) ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน

                  46BbI และ 49BbI
                               (2.10)   หน่วยที่ดินที่เป็นดินตื้นถึงชั้นหินพื้น มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงเนินเขา
                  ความลาดชัน 0-35 เปอร์เซ็นต์ ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียวหรือดินร่วนปนดินเหนียวปนกรวด
                  ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นด่างปานกลาง (pH 4.5-8.0) ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียว
                  ปนกรวดมาก ดินเหนียวปนกรวดมาก พบชั้นหินพื้นหรือหินพื้นผุ ภายในความลึก 50 เซนติเมตร จากผิวดิน

                  ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นด่างปานกลาง (pH 4.5-8.0) การระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง ความอุดม
                  สมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ํา ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ําถึงปานกลาง ความอิ่มตัวด้วยประจุบวก
                  ที่เป็นด่างต่ําถึงปานกลาง ซึ่งแบ่งตามการพัฒนาพื้นที่เพื่อเกษตรกรรมได้เป็น 4 ประเภท คือ

                                    (2.10.1)   หน่วยที่ดินทั่วไป ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 47 47B 47Bcal
                  47B/48B 47B/52B 47B/55B 47B/56B 47B/RC 47B/RL 47Bcal/RC 47C 47Ccal 47C/48C 47C/52C
                  47C/55C 47C/56C 47C/59C 47C/RC 47C/RL 47Ccal/RC 47D 47D/48D 47D/49D 47D/53D
                  47D/55D 47D/56D 47D/RC 47D/RL 47Dcal/RC 47E 47E/48E 47E/52E 47E/55E 47E/56E 47E/RC

                  47E/RL 47Ecal/RC 51 51B 51B/53B 51C 51C/53C 51D 51D/53D 51D/RC 51E และ 51E/RC
                                    (2.10.2)   หน่วยที่ดินที่มีคันนา (b) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 47Bb
                                    (2.10.3)   หน่วยที่ดินในเขตชลประทาน (I) ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 47I
                  47BI 47B/RCI 47C/48CI 47C/55CI และ 47C/RCI

                                    (2.10.4)   หน่วยที่ดินที่มีคันนาในเขตชลประทาน (bI) ได้แก่ หน่วยที่ดิน
                  47BbI
                               (2.11)   หน่วยที่ดินที่เป็นดินตื้นถึงชั้นมาร์ลหรือก้อนปูน มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึง
                  เนินเขา ความลาดชัน 0-35 เปอร์เซ็นต์ ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียวปนกรวด ปฏิกิริยาดินเป็น

                  กลางถึงเป็นด่างปานกลาง (pH 7.0-8.0) ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินเหนียวปนกรวดมาก พบชั้นมาร์ลหรือ
                  ก้อนปูน ภายในความลึก 50 เซนติเมตร จากผิวดินปฏิกิริยาดินเป็นกลางถึงเป็นด่างจัด (pH 4.5-8.0)
                  การระบายน้ําดี ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติสูง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกสูง ความอิ่มตัว

                  ด้วยประจุบวกที่เป็นด่างสูง ซึ่งแบ่งตามการพัฒนาพื้นที่เพื่อเกษตรกรรมได้เป็น 3 ประเภท คือ
                                    (2.11.1)   หน่วยที่ดินทั่วไป ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 52 52/RL 52B 52Budic
                  52B/55B 52B/RL 52C 52Cudic 52C/RL 52D 52D/RL และ 52E
                                    (2.11.2)   หน่วยที่ดินที่มีคันนา (b) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 52b
                                    (2.11.3)   หน่วยที่ดินในเขตชลประทาน (I) ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 52I

                  52BI และ 52CI
                               (2.12)   หน่วยที่ดินที่เป็นดินเศษหินเชิงเขา มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน
                  ความลาดชัน 0-20 เปอร์เซ็นต์ ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายปนกรวด ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมาก

                  (pH 4.5-5.0) ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายปนกรวดมาก พบชั้นหินพื้น ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึง





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจสับปะรดโรงงาน                        กองนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74