Page 62 - oil palm
P. 62

2-6





                  โดยยกรอง  บางพื้นที่ที่ดินเปนกรดจัดมากควรใชวัสดุปูน 0.20-0.30  ตันตอไร ปรับปรุงบํารุงดินดวย

                  ปุยหมักหรือปุยคอก 15-25 กิโลกรมตอหลุม และใสคีเซอรไรต 0.8 กิโลกรัมตอตน ชวงตนและปลาย

                  ฤดูฝน และโบเรต 0.08 กิโลกรัมตอตน ชวงตนฤดูฝน ใชปุยสูตร 18-46-0 อัตรา 1.83 กิโลกรัมตอตน
                  รวมกับปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 0.81 กิโลกรัมตอตน และปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 2.33 กิโลกรัมตอตน หรือ

                  ใชปุยสูตร 14-14-21 อัตรา 6.70 กิโลกรัมตอตน หรือปุยสูตร 13-13-21 อัตรา 6.70 กิโลกรัมตอตน

                  สําหรับภาคใต  สวนภาคตะวันออกและพื้นที่อื่นๆ  ใชปุยสูตร 15-15-20  อัตรา 7.00  กิโลกรัมตอตน

                  หรือปุยสูตร 12-10-25 อัตรา 8.40 กิโลกรัมตอตน ผสมคลุกเคลาใหเขากันแลวหวานรอบโคนตนหาง
                  จากโคนตนประมาณ 30 เซนติเมตร

                    8)  กลุมชุดดินที่ 8

                      เปนกลุมชุดดินที่มีการยกรอง  เนื้อดินสวนใหญเปนดินเหนียว  ดินบนมีลักษณะการทับถม

                  เปนชั้นๆ ของดินและอินทรียวัตถุที่ไดจากการขุดลอกรองน้ํา  ดินลางมีสีเทา  บางแหงมีเปลือกหอย
                  ปะปนอยูดวย  พบในบริเวณพื้นที่ราบลุม  ซึ่งเกษตรกรไดดัดแปลงพื้นที่เพื่อใชปลูกไมผลทําใหสภาพ

                  ผิวดินเดิมเปลี่ยนแปลงไป  ตามปกติดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลางถึงสูงปฏิกิริยาดิน

                  ของดินไมแนนอน  ขึ้นอยูกับสมบัติของดินเดิมกอนยกรอง  แตสวนใหญปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึง
                  เปนกลาง

                      ดินในกลุมชุดดินนี้ไดรับการปรับปรุงบํารุงดินเปนอยางดีมาเปนระยะเวลายาวนาน  จึงถือวา

                  ไมมีปญหาแตประการใดในเรื่องคุณภาพของดิน  แตสําหรับดินตามชายทะเลบางแหงซึ่งยกรองใหม
                  อาจมีปญหาเรื่องความเค็มหรือถาเปนดินที่ยกรองในพื้นที่ที่เปนดินกรดจัดจะพบปญหาเรื่องความเปนกรด

                  ของดินซึ่งตองมีการปรับปรุงดินหรือแกไขปญหาดังกลาว

                      กลุมชุดดินนี้ประกอบดวย หนวยที่ดินที่ 8

                      ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ขึ้นอยูกับลักษณะและสมบัติดินเดิมกอนมีการยกรอง
                  ในบริเวณที่ที่มีการยกรองมาเปนเวลานาน สภาพพื้นที่สวนใหญปลูกไมผลเปนหลัก  เชน ลิ้นจี่ มะพราว

                  มะมวง มะนาว เปนตน

                      แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต ปรับสภาพความเปนกรดดวยวัสดุปูนอัตรา 0.5 ตันตอไร

                  ปรับปรุงบํารุงดินดวยปุยหมักหรือปุยคอก 20-35 กิโลกรัมตอหลุม และใสคีเซอรไรต 0.8 กิโลกรัมตอตน
                  ชวงตนและปลายฤดูฝน และโบเรต 0.08 กิโลกรัมตอตน ชวงตนฤดูฝน ใชปุยสูตร 18-46-0 อัตรา 0.91

                  กิโลกรัมตอตน รวมกับปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 1.16 กิโลกรัมตอตน และปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 0.58

                  กิโลกรัมตอตน หรือใชปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 4.67 กิโลกรัมตอตน สําหรับภาคใต สวนภาคตะวันออก
                  และพื้นที่อื่นๆ  ใชปุยสูตร 20-15-10  อัตรา 3.5 กิโลกรัมตอตน  หรือปุยสูตร 15-15-15  อัตรา 4.7

                  กิโลกรัมตอตน ผสมคลุกเคลาใหเขากันแลวหวานรอบโคนตนหางจากโคนตนประมาณ 30 เซนติเมตร
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67