Page 60 - oil palm
P. 60

2-4





                      กลุมชุดดินนี้ประกอบดวย หนวยที่ดินที่ 4 และ 4(M)

                      ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก โครงสรางแนนทึบ  ดินแหงแข็งและแตกระแหง

                  ทําใหไถพรวนยาก การระบายน้ําคอนขางเลว

                       แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต  เนื่องจากดินกลุมนี้มีปญหาการระบายน้ํา  และเสี่ยงตอ

                  น้ําทวมขังเปนระยะเวลายาวนานโดยเฉพาะในชวงฤดูฝน  ถาใชปลูกปาลมน้ํามันตองมีการปรับปรุง
                  พื้นที่โดยยกรอง ปรับปรุงบํารุงดินดวยปุยหมักหรือปุยคอก 20-35 กิโลกรัมตอหลุม และใสคีเซอรไรต

                  0.8 กิโลกรัมตอตน ชวงตนและปลายฤดูฝน และโบเรต 0.08 กิโลกรัมตอตน ชวงตนฤดูฝน ใชปุยสูตร

                  18-46-0 อัตรา 1.83 กิโลกรัมตอตน รวมกับปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 0.81 กิโลกรัมตอตน และปุยสูตร 0-0-60
                  อัตรา 0.58  กิโลกรัมตอตน  หรือใชปุยสูตร 13-21-15  อัตรา 5.38  กิโลกรัมตอตน สําหรับภาคใต

                  สวนภาคตะวันออกและพื้นที่อื่นๆ ใชปุยสูตร 20-15-10 อัตรา 5.6 กิโลกรัมตอตน ผสมคลุกเคลาใหเขากัน

                  แลวหวานรอบโคนตนหางจากโคนตนประมาณ 30 เซนติเมตร
                    5)  กลุมชุดดินที่ 5

                      เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา  พบในบริเวณที่ราบตะกอนน้ําพา

                  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน  เปนดินลึก
                  มาก  การระบายน้ําเลวความอุดมสมบูรณปานกลาง  มีเนื้อดินเปนพวกดินเหนียวเนื้อดินบนเปนดินรวน

                  เหนียวหรือดินเหนียวสีเทาแกดินลางเปนดินเหนียว สีน้ําตาลออนหรือสีเทา มีจุดประสีน้ําตาล  สีเหลืองหรือ

                  สีแดงตลอดชั้นดินมักพบกอนสารเคมีสะสมพวกเหล็กและแมงกานีสปะปนอยูและในชั้นดินลางลึกๆ

                  อาจพบกอนปูน ปฏิกิริยาดินบนเปนกรดปานกลางถึงกรดเล็กนอย  ปฏิกิริยาดินลางเปนกรดเล็กนอยถึงดาง
                  ปานกลาง

                      กลุมชุดดินนี้ประกอบดวย หนวยที่ดินที่ 5 และ 5(M)

                       ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก การระบายน้ําเลว บางพื้นที่เสี่ยงตอการขาดน้ํา

                      แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต  เนื่องจากดินกลุมนี้มีปญหาการระบายน้ํา  และเสี่ยงตอ
                  น้ําทวมขังเปนระยะเวลายาวนานโดยเฉพาะในชวงฤดูฝน  ปรับปรุงบํารุงดินดวยปุยหมักหรือปุยคอก

                  20-35  กิโลกรัมตอหลุม  และใสคีเซอรไรต 0.8  กิโลกรัมตอตน ชวงตนและปลายฤดูฝน  และโบเรต

                  0.08 กิโลกรัมตอตน ชวงตนฤดูฝน ใชปุยสูตร 18-46-0 อัตรา 1.83 กิโลกรัมตอตน รวมกับปุยสูตร
                  46-0-0 อัตรา 0.81 กิโลกรัมตอตน และปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 1.17 กิโลกรัมตอตน หรือใชปุยสูตร

                  14-14-21 อัตรา 6.00 กิโลกรัมตอตน หรือปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 5.6 กิโลกรัมตอตน สําหรับภาคใต

                  สวนภาคตะวันออกและพื้นที่อื่นๆ ใชปุยสูตร 15-15-20 อัตรา 5.6 กิโลกรัมตอตน หรือปุยสูตร 15-15-15

                  อัตรา 5.6  กิโลกรัมตอตน  ผสมคลุกเคลาใหเขากันแลวหวานรอบโคนตนหางจากโคนตนประมาณ
                  30 เซนติเมตร
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65