Page 134 - oil palm
P. 134

2.5.2  การใชประโยชนที่ดินพืชเศรษฐกิจปาลมน้ํามันในเขตพื้นที่เกษตรกรรม

                       การศึกษาเพื่อกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจปาลมน้ํามันอยูภายใตขอกําหนดดานตางๆ

                  ทั้งทางดานกายภาพ ตลอดจนนโยบายและกฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของ เขตปาไมตามกฎหมายและมติ

                  คณะรัฐมนตรีเปนปจจัยหนึ่งที่มีความสําคัญในการนํามาพิจารณาจัดทําเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ
                  ปาลมน้ํามัน โดยพื้นที่ดําเนินการตองอยูนอกเขตปาไมตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรีเทานั้น เมื่อนํา

                  สภาพการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจปาลมน้ํามันของภาคใต ภาคตะวันออก และภาคกลาง พิจารณารวมกับ

                  เขตปาไมตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรีและประมวลผลโดยใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
                  จากการศึกษาพบมีพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันในพื้นที่เกษตรกรรมทั้งสิ้น 4,625,287 ไร มีรายละเอียดดังนี้

                       ภาคใต มีเนื้อที่ปลูกปาลมน้ํามันในเขตพื้นที่เกษตรกรรม 4,209,892 ไร พบมากที่สุดที่จังหวัด

                  สุราษฎรธานี มีเนื้อที่ 1,163,496 ไร รองลงมา จังหวัดกระบี่ มีเนื้อที่ 1,096,075 ไร และจังหวัดชุมพร มีเนื้อที่

                  969,591 ไร ตามลําดับ (ตารางที่ 2-13)
                       ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ปลูกปาลมน้ํามันในเขตพื้นที่เกษตรกรรม 235,323 ไร พบมาก

                  ที่สุดที่จังหวัดชลบุรี มีเนื้อที่ 123,594 ไร รองลงมา จังหวัดตราด มีเนื้อที่ 54,577 ไร และจังหวัดระยอง มีเนื้อที่

                  27,425 ไร ตามลําดับ (ตารางที่ 2-14)
                       ภาคกลาง มีเนื้อที่ปลูกปาลมน้ํามันในเขตพื้นที่เกษตรกรรม 180,072 ไร พบมากที่สุดที่

                  จังหวัดประจวบคีรีขันธ มีเนื้อที่ 141,298 ไร รองลงมา จังหวัดกาญจนบุรี มีเนื้อที่ 14,893 ไร และจังหวัด

                  เพชรบุรี มีเนื้อที่ 7,463 ไร ตามลําดับ (ตารางที่ 2-15)
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139