Page 121 - oil palm
P. 121

เปนพื้นที่รับน้ําจากที่สูง โดยสายน้ําไดพัดพาเอาตะกอนวัตถุตนกําเนิดดินมาสะสม ทําใหเปนเขตปลูกขาว

                  ที่สําคัญของประเทศ เมื่อพิจารณาโดยภาพรวม สามารถแบงระบบลุมน้ําของภาคกลางไดดังนี้

                      1)  ลุมน้ําที่ไหลรวมเปนแมน้ําเจาพระยากอนไหลออกสูทะเลอาวไทย
                        ลุมน้ําปง โดยมีพื้นที่สวนใหญเปนพื้นที่ราบดอนและที่ราบ ปรากฏลักษณะภูมิ

                  ประเทศเนินตะกอนรูปพัด (Alluvial  Fan)  มีแมน้ําปงซึ่งเปนตนน้ําอยูในเทือกเขาและทิวเขาสูงใน

                  ภาคเหนือเปนสายหลัก

                        ลุมน้ํายม โดยมีพื้นที่สวนใหญเปนพื้นที่ราบ ปรากฏลักษณะภูมิประเทศเนินตะกอน
                  รูปพัด (Alluvial Fan) มีแมน้ํายมเปนสายหลัก

                        ลุมน้ํานาน โดยมีพื้นที่ของลุมน้ํานานทางดานตะวันออกเฉียงเหนือ สวนใหญเปน

                  พื้นที่ภูเขากับพื้นที่ลาดเชิงเขา ดานตะวันออกเปนพื้นที่ดอนกับกลุมเขาโดด และดานใตของลุมน้ําสวน

                  ใหญเปนที่ราบ
                        ลุมน้ําสะแกกรัง โดยมีพื้นที่สวนใหญเปนพื้นที่ลาดเชิงเขากับพื้นที่ดอน มีแมน้ํา

                  สะแกกรังเปนสายหลัก

                        ลุมน้ําปาสัก มีแมน้ําปาสักเปนสายหลัก มีทิศทางการไหลจากเหนือลงสูใต ตนน้ําอยูใน
                  เทือกเขาเพชรบูรณ พื้นที่ลุมน้ําปาสักในชวงตนสวนใหญเปนพื้นที่ดอนกับพื้นที่ราบที่ประกบขางดวย

                  เทือกเขาเพชรบูรณตะวันตกกับเทือกเขาเพชรบูรณตะวันออก ขณะที่ลุมน้ําปาสักในตอนกลางสวนใหญเปน

                  พื้นที่ราบสลับกับกลุมเขาโดดและพื้นที่ลุมน้ําในชวงปลายสวนใหญเปนพื้นที่ราบลุม
                        ลุมน้ําเจาพระยา หรือลุมน้ําที่ราบภาคกลาง พื้นที่ลุมน้ําเจาพระยาสวนใหญเปนพื้นที่ราบ

                  กับพื้นที่ราบลุม มีแมน้ําเจาพระยาเปนสายหลัก

                    2.4.2  โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดิน
                       ตามธรรมชาติปาลมน้ํามันเปนพืชที่ตองการปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยมากกวา 2,000 มิลลิเมตร/ป

                  และมีการกระจายตัวของฝนสม่ําเสมอตลอดป ดังนั้นปาลมน้ํามันที่ปลูกในสภาพพื้นที่ที่มีชวงฤดูแลง

                  ยาวนานเมื่อถึงชวงฤดูแลงควรมีการใหน้ําเพิ่มเติมหรือทดแทน โดยเฉพาะการปลูกปาลมน้ํามันในภาคกลาง

                  จําเปนตองมีแหลงน้ําสํารองอื่นๆ เชน น้ําชลประทาน หรือ การขุดสระน้ํา เปนตน
                             สําหรับปาลมน้ํามัน แหลงน้ําชลประทานเปนทางเลือกดานการจัดการน้ําที่ไดผลวิธีหนึ่ง

                  โดยเฉพาะการปลูกในพื้นที่ลุม โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อใชประโยชนในชวงฤดูแลงหรือฝนตกไม

                  ถูกตองตามฤดูกาลโดยเฉพาะพื้นที่ภาคตะวันออกและกลางบางบริเวณ โดยโครงการชลประทานที่สําคัญ

                  ที่ดําเนินการถึงป พ.ศ. 2556 มีรายละเอียดดังตอไปนี้ (ตารางที่ 2-8 และ 2-9)
                          1)  โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคใต มีรายละเอียดดังนี้
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126