Page 116 - oil palm
P. 116

แมน้ําปตตานี  ตนน้ําเกิดจากเขาอูลูตีตีบาซา และเขามิติบาซาในทิวเขาสันกาลาคีรีในเขา

                  อําเภอเบตง จังหวัดยะลา ในตอนตนน้ําจากอําเภอเบตง ถึงอําเภอบันนังสตาร ลําน้ํานี้จะไหลอยูในหุบเขา

                  และมีคลองยะฮา ซึ่งเปนลําน้ําเล็กๆ ไหลจากทิศตะวันออก มาบรรจบที่บานกําปงโยะและคลองดอนไหล
                  จากเขามูดีบาซา ทางทิศตะวันตก มาบรรจบทางทิศใตของอําเภอบันนังสตาร จากนั้นไดไหลตอไปทาง

                  ทิศเหนือ ผานเขตจังหวัดยะลา จังหวัดปตตานี ลงสูอาวไทยที่อาวปตตานี จากบริเวณบานกุระ ลําน้ําปตตานี

                  แยกออกเปนสองสาขา สาขาทางดานทิศตะวันตก ไหลลงสูที่ลุมชายฝงบริเวณคลองทาเรือ สวนตัวลําน้ํา

                  ปตตานีไหลลงสูทะเลทาง อําเภอเมืองปตตานี จังหวัดปตตานี ทางดานทิศตะวันตกของแหลมโพธิ์
                       แมน้ําสายบุรี (สุไหงตาลุบัน) ตนน้ําเกิดจากทิวเขาโบริง และภูเขาลีเปในทิวเขาสันกาลาคีรี

                  แลวไหลไปทางทิศเหนือ ผานเขตอําเภอรือเซาะ อําเภอรามัน อําเภอสายบุรี ไหลลงสูทะเลที่บานปากบาง

                  อําเภอสายบุรี

                       แมน้ําโก-ลก (สุไหงโกลก)  ตนน้ําเกิดจากเขาลีเปในทิวเขาสันกาลาคีรี ตอนตนน้ําลําน้ํา
                  ไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผานเขตอําเภอแวง อําเภอสุไหงโกลกจนถึงบานลิปางัน ลําน้ําไดแยก

                  ออกเปนสองสาย สายตะวันตก ไดแก ลําน้ําบางนรา ไหลขนานกับฝงทะเลไปออกทะเลที่จังหวัด

                  นราธิวาส มีลําน้ําจากเขาตะเว ไหลมาบรรจบที่บานคาย สายตะวันออก คือ ตัวลําน้ําโกลก ไหลตอไป
                  ทางเหนือไปออกสูทะเลที่อําเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส เปนลําน้ําสายเล็กและสั้น แตมีความสําคัญ

                  ในฐานะที่ใชเปนพรมแดนไทยกับมาเลเซีย (http://www.acsp.ac.th/learnsquarev/courses/31/5003.htm)

                       กวี (2547) เมื่อพิจารณาถึงระบบลุมน้ําในภาคใตพบวามีลักษณะที่สัมพันธกับภูมิประเทศ
                  ที่มีเทือกเขา และทิวเขาสูงเปนแกนกลางเปนตนน้ําสําคัญ ทําใหแบงทิศทางการไหลของทางน้ํา

                  ออกเปน 2 ทิศทางใหญๆ คือ ไหลลงสูทะเลดานอาวไทยและทะเลอันดามัน ความเปนคาบสมุทรที่แคบ

                  ยาว และถูกประกบขางดวยทะเลทั้งสองดานทําใหระบบทางน้ําสวนใหญเปนแมน้ําสายสั้นๆ ซึ่งเมื่อ
                  พิจารณาโดยภาพรวมแลว สามารถแบงระบบลุมน้ําของภาคใตไดดังนี้

                      1)  ลุมน้ําที่ไหลลงสูทะเลดานอาวไทย

                        ลุมน้ํายานชายฝงชุมพร โดยตนน้ําอยูในพื้นที่ภูเขาสูงของเทือกเขาภูเก็ต ลําน้ําสวนใหญ

                  จะเปนแมน้ําสายสั้นๆ วางตัวเรียงรายลักษณะเกือบตั้งฉากโดยตลอดชายฝงทะเล ไหลจากพื้นที่
                  เทือกเขา ทิวเขาดานตะวันตกไปดานตะวันออกลงสูอาวไทยบริเวณชายฝงทะเลชุมพร

                        ลุมน้ําตาปหรือลุมน้ํายานอาวบานดอน โดยพื้นที่ลุมน้ําสวนใหญเปนพื้นที่ภูเขาหรือ

                  พื้นที่ดอน มีแมน้ําตาปหรือเดิมเรียก “แมน้ําหลวง” ซึ่งเปนแมน้ําขนาดใหญที่สุดในภาคใตเปนสายหลัก
                        ลุมน้ํายานชายฝงนครศรีธรรมราช พื้นที่ของลุมน้ําสวนใหญเปนพื้นที่ราบและที่ราบ

                  ชายฝง มีตนน้ําอยูบริเวณเทือกเขานครศรีธรรมราช ไหลลงสูพื้นที่ราบชายฝงดานตะวันออก แมน้ํา

                  สวนใหญเปนสายสั้นๆ วางตัวเรียงรายในแนวตะวันตก-ตะวันออกไปตามแนวชายฝง
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121