Page 99 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ
P. 99

3-19





                  ร้อยละ 53.23 ของพื นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั งประเทศ ภาคกลางมีเนื อที่ 445,917 ไร่ หรือ

                  ร้อยละ 13.23 ของพื นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั งประเทศ ภาคตะวันออกมีเนื อที่ 248,265 ไร่ หรือ
                  ร้อยละ 7.36 ของพื นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั งประเทศ และภาคใต้มีเนื อที่ 476,747 ไร่ หรือ
                  ร้อยละ 14.14 ของพื นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั งประเทศ

                            3) พื นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ทั งประเทศมีเนื อที่ 1,051,362 ไร่ หรือ ร้อยละ
                  6.11 ของพื นที่ที่มีความเหมาะสมทั งประเทศ ภาคเหนือมีเนื อที่ 156,266 ไร่ หรือร้อยละ 14.86 ของ
                  พื นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน้อยทั งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีเนื อที่ 449,313 ไร่ หรือร้อยละ
                  42.74 ของพื นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน้อยทั งประเทศ ภาคกลางมีเนื อที่ 51,389  ไร่ หรือร้อยละ 4.89
                  ของพื นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน้อยทั งประเทศ ภาคตะวันออกมีเนื อที่ 122,087 ไร่ หรือร้อยละ 11.61

                  ของพื นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน้อยทั งประเทศ และภาคใต้มีเนื อที่ 272,307  ไร่ หรือร้อยละ 25.90 ของ
                  พื นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน้อยทั งประเทศ

                  ตารางที่  3-3  เนื้อที่ความเหมาะสมของที่ดินตามศักยภาพหน่วยที่ดินในการปลูกยาสูบจ าแนกเป็นรายภาค

                                               เหมาะสม                เหมาะสม             เหมาะสม

                          ภาค                   สูง (S1)           ปานกลาง (S2)          เล็กน้อย (S3)
                                             ไร่        ร้อยละ          ไร่   ร้อยละ        ไร่   ร้อยละ
                  ภาคเหนือ                 5,011,615     39.20      405,960    12.04     156,266   14.86

                  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ    3,411,635     26.69     1,794,264   53.23     449,313   42.74
                  ภาคกลาง                  2,441,840     19.10      445,917    13.23      51,389    4.89
                  ภาคตะวันออก               518,504       4.06      248,265     7.36     122,087   11.61

                  ภาคใต้                   1,399,803     10.95      476,747    14.14     272,307   25.90
                           รวม          12,783,397      100.00    3,371,153  100.00   1,051,362  100.00

                    ร้อยละของความเหมาะสมทั้งประเทศ       74.30                19.59                6.11

                  หมายเหตุ : ค้านวณด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

                        3.1.2 ข้อจ ากัดที่พบในการจัดชั้นความเหมาะสมส าหรับการปลูกยาสูบ

                             1) ชั้นความเหมาะสมสูง (S1) ข้อจ้ากัดที่พบ คือ ความชุ่มชื นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช (m)
                  เนื่องจากปริมาณน ้า ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตในระดับสูงจะอยู่ที่ 400-600 มิลลิเมตร  ข้อจ้ากัด
                  ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช (o) ในระดับความเหมาะสมสูงจะอยู่ที่การระบายน ้าระดับดี
                  และดีมาก ข้อจ้ากัดความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n) ในระดับความเหมาะสมสูงจะมีค่า CECดินล่าง ใน
                  ระดับมากกว่า 10 มิลลิอิควิวาเลนซ์ และค่า BSมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ข้อจ้ากัดสภาวะการหยั่งลึกของ

                  ราก (r) ในระดับความเหมาะสมสูงมีสภาวะการหยั่งลึกของรากมากกว่า 50เซนติเมตร ความเสียหายจาก
                  การกัดกร่อน (e) ในระดับเหมาะสมสูงอยู่ที่ 0-2 เปอร์เซ็นต์ และ 2-5 เปอร์เซ็นต์

                             2) ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) ข้อจ้ากัดที่พบ คือ ความชุ่มชื นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช
                  (m) เนื่องจากปริมาณน ้า ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตในระดับปานกลางจะอยู่ที่ 300-400 มิลลิเมตร
                  ข้อจ้ากัดความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช (o) ในระดับความเหมาะสมปานกลางจะอยู่ที่





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ                               กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104