Page 98 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ
P. 98

3-18





                        3.1.3 การจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดิน

                             จากหลักการของ FAO Framework ได้จ้าแนกอันดับความเหมาะสมของที่ดิน เป็น 2 อันดับ
                  (Order) 4 ชั น (Class) โดยแสดงรายละเอียดได้ดังนี
                             1) อันดับ ประกอบด้วย

                                1) อันดับที่เหมาะสม (Order S ; Suitability)
                                2) อันดับที่ไม่เหมาะสม (Order N ; Not suitability)
                             2) ดันดับที่เหมาะสม ประกอบด้วยชั น 3 ชั น (Order S ; Suitability)
                                S1  :  ชั นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable)
                                S2  :  ชั นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable)

                                S3  :  ชั นที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (Marginally suitable)
                                อันดับที่ไม่เหมาะสม ประกอบด้วยชั น  N  :  ชั นที่ไม่มีความเหมาะสม (Not suitable)
                            3) ชั นย่อยเป็นชั นที่แสดงอิทธิพลของการเจริญเติบโตของพืช ประกอบด้วย  (1) ความชุ่มชื น

                  ที่เป็นประโยชน์ต่อพืช (Moisture availability : m)  (2 ) ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช
                  (Oxygen availability : o) (3) ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร (Nutrient availability : s)  (4) ความจุใน
                  การดูดยึดธาตุอาหาร (Nutrient retention capacity : n)  (5) ความเสียหายจากน ้าท่วม (Flood hazard : f)
                  (6) ความเสียหายจากการกัดกร่อน (Erosion hazard : e)

                             วิธีการประเมินคุณภาพที่ดินหรือประเมินความเหมาะสมของที่ดินส้าหรับยาสูบนั น ใช้
                  วิธีการจับคู่เพื่อประเมินความเหมาะสมระหว่างความต้องการของประเภทการใช้ที่ดินกับคุณภาพที่ดิน
                  โดยพิจารณาว่า ยาสูบมีความต้องการคุณภาพที่ดินเหมาะสมอยู่ในระดับใด ตามชนิดของหน่วยที่ดินที่พบ
                  ในพื นที่ ส้าหรับหน่วยที่ดินผสมจะท้าการประเมินคุณภาพที่ดินโดยประเมินจากคุณลักษณะที่ดินที่มี

                  ข้อจ้ากัดรุนแรงที่สุดที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืช
                             จากตารางคุณสมบัติหน่วยที่ดิน (ตารางที่ 3-2) เมื่อน้ามาประเมินร่วมกับ (Matching) ระดับความ
                  ต้องการปัจจัยการเจริญเติบโตของยาสูบ (ตารางที่ 3-1) สามารถประเมินความเหมาะสมของที่ดินโดยพบว่า
                  ประเทศไทยมีพื นที่มีความเหมาะสมในการปลูกยาสูบรวมทั งหมด 17,205,912 ไร่ หรือร้อยละ 5.37 ของ

                  เนื อที่ทั งประเทศ มีรายละเอียดความเหมาะสมของที่ดินกับการปลูกพืชเศรษฐกิจยาสูบ ดังตารางที่ 3-3
                  และรูปที่ 3-1 ถึง รูปที่ 3-6 ดังนี

                            1) พื นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) ทั งประเทศมีเนื อที่ 12,783,397 ไร่ หรือร้อยละ 74.30
                  ของพื นที่ที่มีความเหมาะสมทั งประเทศ ภาคเหนือมีเนื อที่ 5,011,615 ไร่ หรือร้อยละ 39.20 ของพื นที่
                  ที่มีความเหมาะสมสูงทั งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีเนื อที่ 3,411,635 ไร่ หรือร้อยละ 26.69

                  ของพื นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั งประเทศ ภาคกลางมีเนื อที่ 2,441,840  ไร่ หรือร้อยละ 19.10 ของ
                  พื นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั งประเทศ ภาคตะวันออกมีเนื อที่ 518,504 ไร่ หรือร้อยละ 4.06 ของพื นที่
                  ที่มีความเหมาะสมสูงทั งประเทศ และภาคใต้ มีเนื อที่ 1,399,803 ไร่ หรือร้อยละ 10.95 ของพื นที่

                  ที่มีความเหมาะสมสูงทั งประเทศ
                            2) พื นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ทั งประเทศมีเนื อที่ 3,371,153 ไร่ หรือร้อยละ
                  19.59ของพื นที่ที่มีความเหมาะสมทั งประเทศ ภาคเหนือมีเนื อที่ 405,960 ไร่ หรือร้อยละ 12.04 ของ
                  พื นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีเนื อที่ 1,794,264 ไร่ หรือ





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ                                 กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103