Page 110 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ
P. 110

3-30




                             การปลูกยาสูบพันธุ์เบอร์เลย์ จากผลการส้ารวจในปีการผลิต 2561 พบว่า เกษตรกรมีเนื อที่

                  เพาะปลูกเฉลี่ย 4.89 ไร่ต่อครัวเรือน ขนาดของเนื อที่ดังกล่าวนับได้ว่าเป็นไร่ขนาดเล็ก การดูแลรักษา
                  พบว่า มีการใช้สารเคมีปราบวัชพืชและสารเคมีปราบศัตรูพืช การก้าจัดวัชพืชใช้แรงงานเครื่องจักรควบคู่
                  กับการใช้แรงงานคน แรงงานที่ใช้ในการผลิตส่วนใหญ่เป็นแรงงานคน 12.89 วันงานต่อไร่ โดยมี

                  ค่าใช้จ่ายคิดเป็นร้อยละ 35.52 ของต้นทุนผันแปรทั งหมด ค่าวัสดุการเกษตรนั นมีมูลค่าคิดเป็นร้อยละ 45.53
                  ของต้นทุนผันแปรทั งหมด ซึ่งเกษตรกรใส่ปุ๋ยเคมี 127.43 กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมาใส่ปุ๋ยอินทรีย์/ปุ๋ยชีวภาพ
                  21.16 กิโลกรัมต่อไร่ (ตารางที่ 3-6)
                             เมื่อจ้าแนกพื นที่ตามระดับความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินส้าหรับการปลูกยาสูบ
                  พันธุ์เบอร์เลย์ พบว่า ในเขตพื นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูง (S1) เกษตรกรมีเนื อปลูกเฉลี่ย 4.29 ไร่ต่อครัวเรือน

                  แรงงานที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นแรงงานคน 12.71 วันงานต่อไร่ โดยมีค่าใช้จ่ายคิดเป็นร้อยละ 35.20 ของ
                  ต้นทุนผันแปรทั งหมด วัสดุการเกษตรนั นมีมูลค่าคิดเป็นร้อยละ 49.96 ของต้นทุนผันแปรทั งหมด ซึ่ง
                  เกษตรกรจะใส่ปุ๋ยเคมี 128.35 กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมาเป็นปุ๋ยอินทรีย์/ปุ๋ยชีวภาพ 20.69 กิโลกรัมต่อไร่

                  ขณะที่ในเขตพื นที่ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) เกษตรกรมีพื นที่ปลูกเฉลี่ย 4.75 ไร่ต่อครัวเรือน
                  แรงงานที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นแรงงานคน 11.67 วันงานต่อไร่ โดยมีค่าแรงงานคิดเป็นร้อยละ 37.25
                  ของต้นทุนผันแปรทั งหมด วัสดุการเกษตรนั นมีมูลค่าคิดเป็นร้อยละ 43.20 ของต้นทุนผันแปรทั งหมด
                  ซึ่งเกษตรกรจะใส่ปุ๋ยเคมี 122.37 กิโลกรัมต่อไร่ และรองลงมาปุ๋ยอินทรีย์/ปุ๋ยชีวภาพ 23.68 กิโลกรัมต่อไร่
                  (ตารางที่ 3-6)

















































                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ                                 กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115