Page 199 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจส้มโอ
P. 199

3-105





                  ที่อัตราดอกเบี้ยเท่ากับอัตราที่ใช้ในการค านวณมูลค่าปัจจุบันสุทธิ วิเคราะห์ค่าอัตราผลได้ต่อต้นทุน

                  (Benefit Cost Ratio : B/C Ratio) เพื่อเป็นเกณฑ์วัดประสิทธิภาพการผลิต (Productivity) และเปรียบเทียบ

                  ผลได้หรือผลตอบแทนที่ได้รับจากการลงทุนเป็นกี่เท่าของเงินลงทุนและค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นใน
                  โครงการที่ลงทุน ส่วนอัตราผลตอบแทนภายในโครงการ (Internal Rate of Return : IRR) จะถูกน ามา

                  เปรียบเทียบกับอัตราคิดลด ถ้าค่าที่ค านวณได้มากกว่าอัตราคิดลดที่ใช้แสดงว่า สมควรที่จะลงทุนต่อไป

                  ระยะเวลาคืนทุน (Payback  Period)  ที่ผลตอบแทนสุทธิมีค่าเท่ากับต้นทุนการผลิต และวิเคราะห์

                  ความเสี่ยงโดยวิธีการทดสอบค่าความแปรเปลี่ยนด้านผลประโยชน์ (Switching  Value  Test  :  SVT)
                  เป็นการหาระดับต้นทุนที่เพิ่มขึ้นหรือผลประโยชน์ลดลงเท่าใด จึงจะท าให้มูลค่าปัจจุบัน (NPV)

                  มีค่าเท่ากับ 0 และอัตราผลได้ต่อต้นทุน (B/C Ratio) มีค่าเท่ากับ 1 ถ้าผลการค านวณ SVT  หรือ SVT
                                                                                                      C
                                                                                            B
                  ที่ค านวณได้มีค่าสูง แสดงถึงความเสี่ยงของโครงการในด้านรายได้หรือต้นทุนอยู่ในระดับต ่า

                  ในทางตรงข้าม ถ้า SVT  หรือ SVT  ที่ค านวณได้มีค่าต ่า แสดงถึงความเสี่ยงของโครงการในด้านรายได้
                                      B
                                               C
                  หรือต้นทุนอยู่ในระดับสูง การวิเคราะห์ข้อมูลตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวนี้ ท าให้ทราบข้อมูลด้านต้นทุน
                  และผลตอบแทนทางการเงิน ซึ่งมีความส าคัญต่อเกษตรกรในฐานะผู้ประกอบการโดยจะเป็นข้อมูล

                  ให้ทราบถึงสถานะทางการเงินที่จะตัดสินใจท าการผลิตหรือด าเนินการผลิตให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
                  โดยเฉพาะกรณีที่เกิดสภาวะผันผวนหรือมีการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิตและ/หรือการตลาด

                  ไม่ว่าจะเป็นจากปัจจัยภายใน (ปริมาณผลผลิต โรค และแมลงศัตรูพืชระบาด เป็นต้น) หรือปัจจัยภายนอก

                  (ค่าปุ๋ ยเคมี ค่าสารเคมี และค่าน ้ามันเชื้อเพลิง เป็นต้น) ทั้งผลการวิเคราะห์นี้ สามารถน าไปใช้เป็น
                  ข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนและก าหนดเขตการผลิต นอกจากนี้ยังใช้เป็นข้อมูลเปรียบเทียบกับ

                  ผลตอบแทนจากการผลิตพืชชนิดอื่น รายละเอียดการวิเคราะห์เป็นดังนี้

                         1)   ต้นทุน และผลตอบแทนระดับประเทศ
                             ส้มโอมีต้นทุนทั้งหมดไร่ละ 17,563.20 บาท เป็นต้นทุนผันแปรไร่ละ 14,209.96 บาท

                  และต้นทุนคงที่ไร่ละ 3,353.24 บาท คิดเป็นร้อยละ 80.91 และ 19.09 ของต้นทุนทั้งหมด ตามล าดับ

                  ในจ านวนต้นทุนทั้งหมดนั้นเป็นต้นทุนที่เป็นเงินสดไร่ละ 11,163.38  บาท และไม่เป็นเงินสดไร่ละ

                  6,399.82  บาท ต้นทุนผันแปรทั้งหมดนั้นส่วนใหญ่ร้อยละ 50.37 เป็นค่าวัสดุการเกษตร  ปริมาณ
                  ผลผลิตส้มโอที่เกษตรกรได้รับเฉลี่ยทุกช่วงอายุที่ให้ผลผลิตเท่ากับ 3,786.00  กิโลกรัมต่อไร่ ณ ราคาขาย

                  ผลผลิต 30.07 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าของผลผลิตหรือรายได้เฉลี่ยต่อไร่ทุกช่วงอายุที่ให้ผลผลิต

                  เท่ากับ 113,845.02 บาท ท าให้เกษตรกรได้รับผลตอบแทนเหนือต้นทุนเงินสดไร่ละ 102,681.64 บาท

                  ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรไร่ละ 99,635.06 บาท และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดไร่ละ
                  96,281.82 บาท โดยมีต้นทุนเฉลี่ยต่อกิโลกรัมเท่ากับ 4.64 บาท ซึ่งท าให้เกษตรกรมีก าไร








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจส้มโอ                                  กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204