Page 46 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจกล้วยไข่
P. 46
2-32
หน่วยที่ดิน 36B คือ หน่วยที่ดินที่มีลักษณะดังกลุ่มชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่น
ลอนลาดเล็กน้อยและมีการระบายน ้าดี
หน่วยที่ดิน 36Bb คือ หน่วยที่ดินที่มีลักษณะดังกลุ่มชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่น
ลอนลาดเล็กน้อย มีการระบายน ้าดีปานกลาง และมีคันนา
หน่วยที่ดิน 36C คือ หน่วยที่ดินที่มีลักษณะดังกลุ่มชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่น
ลอนลาดและมีการระบายน ้าดี
หน่วยที่ดิน 36D คือ หน่วยที่ดินที่มีลักษณะดังกลุ่มชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่น
ลอนชันและมีการระบายน ้าดี
หน่วยที่ดิน 36E คือ หน่วยที่ดินที่มีลักษณะดังกลุ่มชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่เป็นเนินเขาและ
มีการระบายน ้าดี
กลุ่มชุดดินที่ 37
เป็นกลุ่มชุดดินที่เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวกตะกอนล าน ้าหรือการสลายตัวผุพังอยู่กับที่
หรือการสลายตัวผุพังแล้วถูกเคลื่อนย้ายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบวางทับอยู่บนชั้นหินผุหรือชั้นดินเหนียว
พบบริเวณพื้นที่ดอน สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน เป็นดินลึก มีการระบายน ้าดี เนื้อดินบน
เป็นดินทรายปนดินร่วน ส่วนดินชั้นล่างในระดับความลึก 50-100 เซนติเมตร เป็นดินเหนียว ดินเหนียวปนเศษหิน
หรือเป็นชั้นหินผุ สีดินบนเป็นสีน ้าตาล ดินล่างเป็นสีน ้าตาลปนเทา บางแห่งมีจุดประสีแดงและมีศิลาแลงอ่อน
ปะปนอยู่จ านวนมาก ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต ่า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดจัดมาก
มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.5
ปัญหาส าคัญในการใช้ที่ดิน ได้แก่ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า ในช่วงฤดูฝนดินเปียกแฉะเกินไป
ส าหรับพืชไร่บางชนิดและหน้าดินค่อนข้างเป็นทรายหนา
กลุ่มชุดดินนี้ประกอบด้วย 4 หน่วยที่ดิน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
หน่วยที่ดิน 37 คือ หน่วยที่ดินที่มีลักษณะดังกลุ่มชุดดินที่ 37 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึง
ค่อนข้างราบเรียบ
หน่วยที่ดิน 37B คือ หน่วยที่ดินที่มีลักษณะดังกลุ่มชุดดินที่ 37 มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่น
ลอนลาดเล็กน้อย
หน่วยที่ดิน 37C คือ หน่วยที่ดินที่มีลักษณะดังกลุ่มชุดดินที่ 37 มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่น
ลอนลาด
หน่วยที่ดิน 37D คือ หน่วยที่ดินที่มีลักษณะดังกลุ่มชุดดินที่ 37 มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่น
ลอนชัน
เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจกล้วยไข่ ส านักส ารวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน