Page 43 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจกล้วยไข่
P. 43
2-29
กลุ่มชุดดินที่ 33
เป็นกลุ่มชุดดินที่มีวัตถุต้นก าเนิดดินเป็นพวกตะกอนล าน ้า พบบนสันดินริมน ้าเก่า เนินตะกอนรูปพัด
หรือที่ราบตะกอนน ้าพา พบบริเวณพื้นที่ดอน สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เป็นดินลึก
มีการระบายน ้าดีปานกลางถึงดี มีเนื้อดินเป็นพวกดินทรายแป้ งหรือดินร่วนละเอียด สีดินเป็นสีน ้าตาล
หรือสีน ้าตาลปนแดง บางแห่งในดินล่างลึกๆ มีจุดประสีเทาและสีน ้าตาลอาจมีแร่ไมกาหรือก้อนปูน
ปะปนอยู่ด้วย มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง ดินชั้นบนมักมีปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึง
กรดเล็กน้อย มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.5-6.5 ส่วนชั้นดินล่าง ถ้ามีก้อนปูนปะปน ปฏิกิริยาดินเป็นกลาง
ถึงด่างจัด มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 7.0-8.5
ปัญหาส าคัญในการใช้ที่ดิน ได้แก่ เมื่อมีฝนทิ้งช่วงนานจะเกิดปัญหาการขาดแคลนน ้า บางพื้นที่
พบชั้นดานแข็งที่เกิดจากการเกษตรกรรม
กลุ่มชุดดินนี้ประกอบด้วย 7 หน่วยที่ดิน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
หน่วยที่ดิน 33 คือ หน่วยที่ดินที่มีลักษณะดังกลุ่มชุดดินที่ 33 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึง
ค่อนข้างราบเรียบและมีการระบายน ้าดี
หน่วยที่ดิน 33b คือ หน่วยที่ดินที่มีลักษณะดังกลุ่มชุดดินที่ 33 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึง
ค่อนข้างราบเรียบ มีการระบายน ้าดีปานกลาง และมีคันนา
หน่วยที่ดิน 33d3 คือ หน่วยที่ดินที่มีลักษณะดังกลุ่มชุดดินที่ 33 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึง
ค่อนข้างราบเรียบ มีการระบายน ้าดี และมีความลึก 50-100 เซนติเมตรจากผิวดิน
หน่วยที่ดิน 33f คือ หน่วยที่ดินที่มีลักษณะดังกลุ่มชุดดินที่ 33 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึง
ค่อนข้างราบเรียบ มีการระบายน ้าดีปานกลาง และเป็นพื้นที่เสี่ยงจากการเกิดน ้าท่วมขังในฤดูฝน
หน่วยที่ดิน 33sa คือ หน่วยที่ดินที่มีลักษณะดังกลุ่มชุดดินที่ 33 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึง
ค่อนข้างราบเรียบ มีการระบายน ้าดี และมีคราบเกลืออยู่ที่ผิวดิน
หน่วยที่ดิน 33B คือ หน่วยที่ดินที่มีลักษณะดังกลุ่มชุดดินที่ 33 มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่น
ลอนลาดเล็กน้อยและมีการระบายน ้าดี
หน่วยที่ดิน 33C คือ หน่วยที่ดินที่มีลักษณะดังกลุ่มชุดดินที่ 33 มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่น
ลอนลาดและมีการระบายน ้าดี
กลุ่มชุดดินที่ 34
เป็นกลุ่มชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เช่น ภาคใต้และภาคตะวันออก เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดิน
พวกตะกอนล าน ้าหรือจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแล้วถูกเคลื่อนย้ายมาทับถม
ของวัสดุเนื้อหยาบที่มาจากพวกหินอัคนีหรือหินตะกอน พบบริเวณพื้นที่ดอน สภาพพื้นที่ราบเรียบถึง
เป็นเนินเขา เป็นดินลึก มีการระบายน ้าดี มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนละเอียด ดินบนเป็นดินร่วนปนทราย
เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจกล้วยไข่ ส านักส ารวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน