Page 18 - mangosteen
P. 18
1-2
การจัดท าเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด ต้องศึกษาวิเคราะห์สถานภาพของ
ทรัพยากรธรรมชาติประเภทต่าง ๆ เช่น ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน ้า ทรัพยากรป่าไม้ เป็นต้น ร่วมกับลักษณะ
ทางเศรษฐกิจและสังคมร่วมด้วย ทั้งนี้ส่วนใเพื่อเป็นฐานข้อมูลที่จะน าไปสู่การส่งเสริมการปลูกหรือ
ลดพื้นที่ปลูก รวมถึงบริหารจัดการการพื้นที่และตลาดอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับสถานการณ์ที่จะ
เกิดขึ้นในอนาคตอีกด้วย
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อเป็นแนวทางในการก าหนดพื้นที่ปลูกเงาะให้เหมาะสมกับระดับความเหมาะสมของ
ที่ดินเพื่อน าไปสู่การลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพ ให้ตรงกับ
ความต้องการของตลาด
1.2.2 เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการก าหนดแผนงานนโยบายและยุทธศาสตร์ เพื่อน าไปสู่การ
พัฒนาพืชเศรษฐกิจมังคุดในมิติต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับหลักวิชาการและความต้องการของตลาด
1.3 ขอบเขตกำรด ำเนินงำน
1.3.1 ระยะเวลำ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2560
1.3.2 ขอบเขตศึกษำ พื้นที่เกษตรกรรมของประเทศไทย
1.3.3 พืชเศรษฐกิจ มังคุด
1.4 ขั้นตอนและวิธีด ำเนินงำน
1.4.1 กำรรวบรวมข้อมูลทำงด้ำนกำยภำพ
ข้อมูลที่น ามาใช้เป็นฐานในการศึกษาและวิเคราะห์ เป็นข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงอรรถาธิบาย
ประกอบด้วย
1) แผนที่กลุ่มชุดดิน มาตราส่วน 1: 25,000 โดย กรมพัฒนาที่ดิน ป ี พ.ศ. 2555
2) แผนที่สภาพการใช้ที่ดินมังคุด มาตราส่วน 1: 25,000 โดย กรมพัฒนาที่ดิน ป ี พ.ศ. 2559
3) แผนที่ป่าสงวนแห่งชาติ มาตราส่วน 1: 50,000โดย กรมป่าไม้ไม่ระบุปี
4) แผนที่เขตอุทยานแห่งชาติและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า มาตราส่วน 1: 50,000 จัดท าโดยกรม
อุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช ไม่ระบุปี
5) แผนที่เขตปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร มาตราส่วน 1: 50,000 โดย ส านักงานปฏิรูปที่ดิน
เพื่อการเกษตร ป ี พ.ศ. 2558
6) แผนที่ขอบเขตการปกครอง มาตราส่วน 1: 50,000 โดย กรมการปกครอง ปี 2556
7) แผนที่ชั้นน ้าฝนของประเทศไทยปี 2526-2555 (30 ปี) โดย กรมอุตุนิยมวิทยา ปี 2555