Page 136 - durian
P. 136

3-62






                              พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) จากการศึกษาพบว่า ปีที่ 1 และปีที่ 2-3
                  เกษตรกรยังไม่มีรายได้แต่มีค่าใช้จ่ายในการปลูกและดูแลรักษาเนื่องจากทุเรียนยังไม่ให้ผลผลิต

                  ผลตอบแทนการผลิตทุกประเภทจึงขาดทุน กล่าวคือ ปีที่ 1 ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรขาดทุน

                  ไร่ละ 28,166.93 บาท และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดขาดทุนไร่ละ 30,600.95 บาท ปีที่ 2-4
                  ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรขาดทุนไร่ละ 18,004.02 บาท ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด

                  ขาดทุนไร่ละ 20,442.25 บาท ในช่วงอายุที่ให้ผลผลิตปีที่ 5-10 11-15 และ 16 ปีขึ้นไป ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย

                  ส่วนใหญ่เป็นค่าแรงงานร้อยละ 45.95-52.78 ของต้นทุนผันแปร และมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุน
                  ทั้งหมดมากกว่า 1 (3.94-4.67) แสดงว่า ทุกช่วงอายุที่ทุเรียนให้ผลผลิตเกษตรกรจะได้รับผลก าไรจาก

                  การลงทุน (ตารางที่ 3-18)


                  ตารางที่ 3-18  ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตทุเรียนในฤดูของภาคตะวันออก จ าแนกตามช่วงอายุ
                               ในพื้นที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) ปีการผลิต 2559

                                                            ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิต (บาท/ไร่)
                           รายการ
                                              ปีที่ 1   ปีที่ 2-4   ปีที่ 5-10   ปีที่ 11-15   ≥ 16 ป ี   เฉลี่ย
                  1. ต้นทุนผันแปร            28,166.93   18,004.02   20,052.20   20,623.73   18,700.65   19,847.11
                    1.1 ค่าวัสดุการเกษตร     9,562.50   6,868.75   7,421.72   7,561.99   8,511.79   7,817.00
                                              (33.95)   (38.15)    (37.02)   (36.67)   (45.52)    (39.39)
                    1.2 ค่าแรงงาน            16,892.50   9,797.50   10,295.42   10,886.11   8,593.04   10,028.39
                                              (59.97)   (54.42)    (51.34)   (52.78)   (45.95)    (50.52)
                    1.3 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ      1,711.93   1,337.77   2,335.06   2,175.63   1,595.82   2,001.72
                                               (6.08)    (7.43)    (11.64)   (10.55)    (8.53)    (10.09)
                  2. ต้นทุนคงที่             2,434.02   2,438.23   1,971.07   1,843.14   1,876.32   1,923.04

                  ต้นทุนทั้งหมด              30,600.95   20,442.25   22,023.27   22,466.87   20,576.97   21,770.15
                  ผลผลิตต่อไร่ (กก.)           -         -        1,165.42   1,315.43   1,288.63   1,192.69
                  ราคาผลผลิต (บาท/กก.)         -         -          74.56     74.56      74.56     74.56
                  มูลค่าผลผลิต (บาท/ไร่)       -         -        86,893.72   98,078.46   96,080.25   88,926.97
                  ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปร   -28,166.93   -18,004.02   66,841.52   77,454.73   77,379.60   69,079.86
                  (บาท/ไร่)
                  ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด   -30,600.95   -20,442.25   64,870.45   75,611.59   75,503.28   67,156.82
                  (บาท/ไร่)
                  อัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด   -    -           3.94      4.37      4.67       4.09
                  ต้นทุนต่อกิโลกรัม (บาท)      -         -          18.90     17.08      15.97     18.25

                  หมายเหตุ :  ในวงเล็บหมายถึง ร้อยละของต้นทุนผันแปร
                  ที่มา :  วิเคราะห์จากข้อมูลเบื้องต้นที่ส ารวจโดยกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร และกลุ่มนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน กองนโยบาย
                        และแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2560)
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141