Page 133 - durian
P. 133

3-59






                  ตารางที่ 3-14 ปริมาณการใช้ปัจจัยในการผลิตทุเรียนนอกฤดูของภาคใต้ จ าแนกตามช่วงอายุ

                            ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) ปีการผลิต 2559

                                                 หน่วย                     ปีที่
                             รายการ                                                               เฉลี่ย
                                                 (ต่อไร่)   1      2-4    5-10    11-15   ≥16

                  แรงงานคน                       คน/วัน   13.74   8.39    10.10   12.17   30.75   11.91
                  แรงงานเครื่องจักร              ชั่วโมง   10.16   27.93   25.64   29.38   49.50   24.04
                  พันธุ์                          ต้น     17.00    -        -       -       -     17.00

                  ปุ๋ ยเคมี                     กิโลกรัม  40.00   80.00   80.00   79.80   80.00   70.47
                  ปุ๋ ยคอก                      กิโลกรัม   -       -        -     30.61     -     11.81
                  วัสดุปรับปรุงดิน (ปูนมาร์ล)   กิโลกรัม   -      5.00      -       -       -     0.51

                  สารเร่งการเจริญเติบโต ชนิดน ้า   ลิตร    -      1.54    1.30    1.22    2.50    1.01
                  สารป้องกันและปราบวัชพืช ชนิดน ้า   ลิตร   0.57   0.46   0.85    0.71      -     0.68
                  สารป้องกันและปราบศัตรูพืช ชนิดน ้า   ลิตร   1.67   0.92   0.36   1.31   1.00    1.10

                  สารป้องกันและปราบโรคพืช ชนิดน ้า   ลิตร   1.23   1.46   1.24    1.33    2.00    1.31
                  น ้ามันเชื้อเพลิง/หล่อลื่น      ลิตร    1.80    3.62    2.45    4.33    5.00    3.18

                  ที่มา :  วิเคราะห์จากข้อมูลเบื้องต้นที่ส ารวจโดยกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร และกลุ่มนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน
                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2560)

                        3.2.2  ต้นทุน รายได้ และผลตอบแทนจากการผลิตทุเรียน
                            การวิเคราะห์ต้นทุน รายได้ และผลตอบแทนจากการผลิตทุเรียนปีการผลิต 2559 จ าแนก

                  ตามความเหมาะสมทางกายภาพของพื้นที่และช่วงอายุได้ดังต่อไปนี้

                             1. การผลิตทุเรียนในฤดูของภาคตะวันออก
                              พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) จากการศึกษาพบว่า ปี ที่ 1 และปี ที่ 2-3

                  เกษตรกรยังไม่มีรายได้แต่มีค่าใช้จ่ายในการปลูกและดูแลรักษาเนื่องจากทุเรียนยังไม่ให้ผลผลิต

                  ผลตอบแทนการผลิตทุกประเภทจึงขาดทุน กล่าวคือ ปีที่ 1 ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรขาดทุน
                  ไร่ละ 16,125.80 บาท และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดขาดทุนไร่ละ 17,873.21 บาท ปีที่ 2-4

                  ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรขาดทุนไร่ละ 11,042.39 บาท ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด

                  ขาดทุนไร่ละ 12,904.72 บาท ในช่วงอายุที่ให้ผลผลิตปีที่ 5-10 11-15 และ 16 ปีขึ้นไป ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย

                  ส่วนใหญ่เป็นค่าแรงงานร้อยละ 53.52-54.88 ของต้นทุนผันแปร และมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุน
                  ทั้งหมดมากกว่า 1 (6.39-7.81) แสดงว่า ทุกช่วงอายุที่ทุเรียนให้ผลผลิตเกษตรกรจะได้รับผลก าไรจาก

                  การลงทุน (ตารางที่ 3-16)
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138