Page 39 - coffee
P. 39

2-21






                  ความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.0-6.0  สวนดินชั้นลางจะเปนกรดปานกลางถึงเปนดางเล็กนอย มีคา

                  ความเปนกรดเปนดางประมาณ 6.0-7.5 กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับกลุมชุดดินที่ 18  ไดแก  18hi    เปน

                  ดินนาพบบนที่ดอน

                       -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก ความอุดมสมบูรณต่ํา  การระบายน้ําเลว
                  ถึงคอนขางเลว บางพื้นที่เสี่ยงตอการขาดน้ํา

                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน ชุดดินไชยา (Cya) ชุดดินโคกสําโรง (Ksr) ชุดดิน

                  เขายอย (Kyo) และชุดดินชลบุรี (Cb)

                             กลุมชุดดินที่ 19

                             เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ําหรือจากการสลายตัวผุพัง

                  แลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบ พบในบริเวณที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ สวนใหญ
                  มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน เปนดินลึกที่มีการระบายน้ําคอนขางเลว เนื้อดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือ

                  ดินทราย ดินลางเปนชั้นดินแนนทึบ มีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปนทรายหรือดินเหนียว สีน้ําตาลออน

                  และสีเทา มีจุดประสีเหลืองหรือสีน้ําตาลแดง บางแหงอาจมีศิลาแลงออนปะปนอยูดวย ดินมีความ

                  อุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา มีปฏิกิริยาเปนกรดจัดมากถึงกรดเล็กนอย คาความเปนกรดเปนดาง
                  ประมาณ 5.0-6.5 กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับกลุมชุดดินที่ 19 ไดแก  19B    เปนดินที่พบในพื้นที่มี

                  ความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต

                      -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  เนื้อดินบนคอนขางเปนทรายและดินลาง

                  แนนทึบไมเหมาะกับการเจริญเติบโตของพืช ถาฝนตกลงมาดินจะมีน้ําแชขัง แตถาฝนทิ้งชวงดินจะขาดน้ํา
                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน ชุดดินมะขาม (Mak) และชุดดินวิเชียรบุรี (Wb)


                             กลุมชุดดินที่ 20

                             เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ําหรือจากการสลายตัวผุพัง
                  อยูกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบที่มีชั้นหินเกลือ

                  รองรับอยูหรืออาจไดรับอิทธิพลจากการแพรกระจายของเกลือทางผิวดิน พบในบริเวณที่ราบเรียบ
                  หรือคอนขางราบเรียบ มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน เปนดินลึกที่มีการระบายน้ําคอนขางเลวถึงดีปานกลาง

                  เนื้อดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทราย สวนดินลางเปนชั้นดินแนนทึบที่มีการสะสมเกลือโซเดียม

                  มีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปนทรายหรือดินรวนปนดินเหนียว มีสีน้ําตาลออนถึงสีเทา อาจพบจุดประ
                  พวกสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดงปะปนหรือกอนสารเคมีสะสมพวกเหล็กและแมงกานีสในดินชั้นลาง

                  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ดินชั้นบนโดยมากจะมีปฏิกิริยาเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง

                  มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.0-6.0  สวนดินชั้นลางมักมีปฏิกิริยาเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44