Page 55 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจโกโก้
P. 55

3-21






                  880.81 บาท เนื่องจากอายุโกโก้ที่ท าการส ารวจมีอายุช่วงประมาณ 1-3 ปี ท าให้ผลผลิตน้อย ซึ่งโกโก้โต

                  เต็มที่มีอายุ 4 ปีขึ้นไป ผลผลิตประมาณไร่ละ 1,500-2,500 กิโลกรัม และถ้าเกษตรกรขายได้ในราคา

                  เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.75 บาท จะได้ผลตอบแทนสุทธิไร่ละ 5,755.81-15,505.81 บาท
                             ส านักงานเศรฐกิจการเกษตรที่ 9 ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (กันยายน 2564) เรื่อง

                  การศึกษาแนวทางการบริหารจัดการสินค้าเกษตรทางเลือกที่มีอนาคต (Future  Crops)  ตามแผนที่

                  เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) จังหวัดสงขลา พัทลุง ตรัง และสตูล พบว่า ต้นทุนรวม
                  ไร่ละ 10,328 บาท มีผลตอบแทนไร่ละ 22,500  บาท ได้ผลตอบแทนสุทธิไร่ละ 12,172  บาท ผลผลิต

                  ไร่ละ 1,500 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 15 บาท
                             ส านักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (ตุลาคม 2564) เรื่อง

                  การศึกษาศักยภาพการผลิตและการตลาดโกโก้ กรณีศึกษาจังหวัดน่าน พบว่า ต้นทุนในช่วงก่อนให้

                  ผลผลิต (น้อยกว่า 2 ปี) ต้นทุนการผลิตรวมทั้งหมดไร่ละ 13,122.17 บาท ต้นทุนในช่วงให้ผลผลิตแล้ว
                  (มากกว่า 2 ปี) ต้นทุนการผลิตรวมทั้งหมดไร่ละ 7,181.15 บาท ผลผลิตผลสดเฉลี่ยไร่ละ 371.67

                  กิโลกรัม ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.25 บาท ได้รับผลตอบแทนไร่ละ 4,924.63 บาท และได้รับ
                  ผลตอบแทนสุทธิ (ขาดทุน) ไร่ละ 2,256.52 บาท ทั้งนี้ ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ดังกล่าว ได้พิจารณาจาก

                  ปริมาณผลผลิตที่เกษตรกรสามารถผลิตได้ โดยอายุของต้นโกโก้ที่ท าการส ารวจและน ามาวิเคราะห์ข้อมูล

                  มีอายุเฉลี่ยประมาณ 3.5 ปี ซึ่งยังไม่มากและไม่ใช่ช่วงอายุที่ต้นโกโก้สามารถให้ผลผลิตได้เต็มศักยภาพ
                  ประกอบกับการดูแลรักษาที่ไม่เต็มที่ส่งผลให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ไม่สูง จนท าให้ผลตอบแทนต่อไร่ของ

                  เกษตรกรไม่สูงเท่าที่ควร

                      3.2.2 ปัญหา และข้อเสนอแนะ

                             1) ปัญหา

                            (1) แหล่งรับซื้อ บริษัทรับซื้อผลผลิตมีน้อย เกษตรกรขาดความมั่นใจ (ปลูกแล้วจะขายที่ไหน)
                            (2) เกษตรกรส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ด้านการเพาะปลูกตามหลักวิชาการ ขาดความรู้ด้านการ

                  จัดการดินและน้ า ท าให้ได้รับผลผลิตต่ ากว่าศักยภาพ ในขณะที่ต้นทุนการผลิตค่อนข้างสูง
                            (3) เกษตรกรขาดเงินทุน ขาดการบ ารุงรักษา ท าให้ผลผลิตไม่ดีเท่าที่ควร

                             2) ข้อเสนอแนะ

                                (1) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเข้าไปให้ความรู้เรื่องการผลิตโก้ ทั้งด้านพันธุ์พืช วิธีการปลูก
                  การเก็บเกี่ยว การแปรรูป พร้อมทั้งหาตลาดรองรับให้แก่เกษตรกร เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและเป็นที่

                  ต้องการของตลาด ผลผลิตในประเทศยังไม่เพียงพอกับความต้องการ
                            (2) ภาครัฐควรให้การสนับสนุนในการพัฒนาสายพันธุ์โกโก้ที่มีคุณภาพ เพื่อไปรองรับ

                  อุตสาหกรรมแปรรูป








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจโกโก้                                  กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60