Page 29 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจโกโก้
P. 29
2-17
460,040 ไร่ และโครงการขนาดเล็ก จ านวน 1,869 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 347.21 ล้านลูกบาศก์เมตร
พื้นที่ชลประทาน 699,758 ไร่
4) โครงการพัฒนาแหล่งน้้าผิวดินภาคตะวันออก
โครงการพัฒนาแหล่งน้ าผิวดินภาคตะวันออกแบ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่
จ านวน 9 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 1,685.060 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 1,622,135 ไร่
โครงการขนาดกลาง จ านวน 83 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 839.135 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน
864,039 ไร่ และโครงการขนาดเล็ก จ านวน 1,748 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 368.011 ล้านลูกบาศก์เมตร
พื้นที่ชลประทาน 407,970 ไร่
5) โครงการพัฒนาแหล่งน้้าผิวดินภาคใต้
โครงการพัฒนาแหล่งน้ าผิวดินภาคใต้แบ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่ จ านวน
8 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 7,109.160 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 1,683,846 ไร่ โครงการ
ขนาดกลาง จ านวน 106 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 496.583 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน
963,496 ไร่ และโครงการขนาดเล็ก จ านวน 2,641 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 134.712
ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 834,921 ไร่
2.5 การใช้ประโยชน์ที่ดิน
จากการศึกษาและวิเคราะห์การใช้ที่ดินส าหรับพืชเศรษฐกิจโกโก้ โดยกลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้
ที่ดิน กองนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2565) พบว่า ประเทศไทยมีเนื้อที่ปลูกโกโก้
ทั้งหมดประมาณ 779 ไร่ โดยแบ่งเป็นโกโก้ปลูกร่วมกับพืชอื่น 176 ไร่ และโกโก้ปลูกเป็นพืชเดี่ยว 603
ไร่ พบปลูกมากที่สุดในภาคเหนือ 477 ไร่ กระจายตัวมากอยู่ในจังหวัดเชียงราย 235 ไร่ รองลงมา
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 208 ไร่ กระจายตัวมากอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา 120 ไร่
ภาคกลาง 64 ไร่ กระจายตัวมากอยู่ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 47 ไร่ และภาคใต้ 30 ไร่ อยู่ในจังหวัด
สุราษฎร์ธานี (ตารางที่ 2-2) และอนาคตเกษตรกรมีแนวโน้มหันมาปลูกโกโก้และขยายพื้นที่ปลูกมากขึ้น
เนื่องจากเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศรวมทั้งภาครัฐมีแนวคิดใน
การส่งเสริมการปลูกโกโก้ทดแทนยางพารา หรือปลูกแซมพืชอื่นเพื่อเสริมรายได้ ซึ่งการปลูกโกโก้
ส่วนใหญ่เป็นภาคเอกชนน าการผลิตในรูปแบบเกษตรพันธสัญญา เพื่อให้มีตลาดรับซื้อที่ชัดเจน
เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจโกโก้ กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน