Page 20 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจโกโก้
P. 20
2-8
ตารางที่ 2-1 (ต่อ)
ลักษณะเด่นประจ้ากลุ่มชุดดิน กลุ่มชุดดิน
กลุ่มดินร่วนริมแม่น้้า
- ดินร่วนหรือดินทรายแป้งละเอียดลึกมากที่เกิดจากตะกอนริมแม่น้ า 32
กลุ่มดินร่วนละเอียด
- ดินร่วนละเอียดลึกถึงลึกมากที่เกิดจากตะกอนล าน้ าหรือวัตถุต้นก าเนิด 34
กลุ่มดินร่วนหยาบ
- ดินร่วนหยาบลึกถึงลึกมากที่เกิดจากตะกอนล าน้ าหรือวัตถุต้นก าเนิดดินเนื้อหยาบ 39
กลุ่มดินทราย
- ดินทรายที่มีชั้นดานอินทรีย์ภายในความลึก 100 เซนติเมตร จากผิวดิน 42
- ดินทรายลึกมากที่เกิดจากตะกอนล าน้ าหรือสันทรายชายทะเล 43
กลุ่มดินตื้น
- ดินตื้นถึงลูกรัง เศษหินหรือก้อนหิน 45
- ดินตื้นถึงชั้นหินพื้น 51
กลุ่มดินลึกปานกลาง
- ดินร่วนลึกปานกลางถึงเศษหิน ก้อนหินหรือชั้นหินพื้น 50
- ดินเหนียวลึกปานกลางถึงชั้นหินพื้นลูกรังหรือเศษหิน 53
4. กลุ่มชุดดินที่มีความลาดชันสูง
- พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ 62
ที่มา: ส านักส ารวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2548)
ทรัพยากรดินส่วนใหญ่ที่พบในประเทศไทยเป็นดินที่มีการพัฒนาค่อนข้างสูงซึ่งจะส่งผลให้ดินมี
ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า มีศักยภาพทางการเกษตรอยู่ในระดับปานกลางถึงสูง ประกอบด้วย
1) ดินในพื้นที่ราบลุ่ม พื้นที่ราบลุ่มหรือพื้นที่น้ าขังส่วนใหญ่พบบริเวณพื้นที่ราบตะกอนน้ าพา
และตะพักล าน้ า บางส่วนพบบริเวณพื้นที่ราบในหุบเขา สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบถึงเป็น
ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ช่วงฤดูฝนมีน้ าแช่ขังแฉะหรือมีระดับน้ าใต้ดินอยู่ใกล้ผิวดินเป็นเวลานาน
การระบายน้ าค่อนข้างเลวถึงเลว ดินมีสีเทาหรือสีเทาอ่อน จุดประตลอดหน้าตัดดิน ซึ่งบ่งบอกถึงมีน้ าแช่
ขังในหน้าตัดดิน ปฏิกิริยาดินส่วนใหญ่เป็นกรดปานกลางถึงเป็นด่างปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์
ปานกลางถึงสูง โดยจ าแนกตามลักษณะของเนื้อดินและสมบัติบางประการที่เด่นชัด ได้ 11 กลุ่มดังนี้
เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจโกโก้ กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน