Page 73 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจขมิ้นชัน
P. 73

3-19





                              แนวทางการด าเนินงาน

                              1. ออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูลพื้นที่ปลูกพืชสมุนไพรและแอพพลิเคชั่นส าหรับเก็บ
                  ข้อมูล
                              2. ส ารวจพื้นที่เพาะปลูกสมุนไพร ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลพืชสมุนไพรรายชนิด ราย

                  ต าบล รายแปลง และข้อมูลพื้นที่ เพื่อน าไปจัดท าฐานข้อมูล โดยผู้รับผิดชอบข้อมูลหลัก คือ ส านักงาน
                  การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กรมส่งเสริมการเกษตร และขอความสนับสนุนจากกรมพัฒนาชุมชน
                  และกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
                              3. เก็บข้อมูลเพาะปลูกสมุนไพรในพื้นที่น าร่อง จังหวัดสระแก้ว, จังหวัดเชียงราย,
                  จังหวัดสกลนคร, จังหวัดปราจีนบุรี, จังหวัดสุราษฎร์ธานี

                              แผนงานที่ 3 จัดท าแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินส าหรับปลูกพืชสมุนไพร (Land Suitability)
                                จัดท าแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินส าหรับปลูกพืชสมุนไพร (Land Suitability)
                  อย่างน้อย 30 ชนิด

                              แนวทางการด าเนินงาน
                              1. ก าหนดชนิดพืชสมุนไพรที่มีศักยภาพสูงในเชิงพาณิชย์ เพื่อเป็นตัวอย่างในการศึกษา
                  อย่างน้อย 30 ชนิดที่สอดคล้องกับชนิดพืชสมุนไพรที่ท ามาตรฐาน GAP8/GACP
                              2. น าข้อมูลพื้นที่ปลูกสมุนไพร (อย่างน้อย 30 ชนิด) จากฐานข้อมูลพื้นที่ปลูกพืช

                  สมุนไพร (Land Use) จัดท า Soil Mapping กับชุดดินที่มีข้อมูลอยู่แล้วของกรมพัฒนาที่ดิน
                              3. ส ารวจข้อมูลเชิงลึก จากแปลงปลูกที่คัดเลือกเพื่อวิเคราะห์ความเหมาะสมของพื้นที่
                  ปลูก และหาปัจจัยที่มีความส าคัญต่อการปลูกสมุนไพรแต่ละชนิด (Diagnose Factor for Crop
                  Requirement) เช่น สภาพดิน, ปริมาณน้ า, ลักษณะภูมิประเทศ (ความสูง, ความชัน, ที่ลุ่ม เป็นต้น),

                  ลักษณะภูมิอากาศ (ฝน, อุณหภูมิ เป็นต้น) รวมถึงความเหมาะสมของต าแหน่งที่ตั้งของพื้นที่ทั้งทางด้าน
                  กายภาพเศรษฐกิจ และสังคม (ป่าเศรษฐกิจเขตอุตสาหกรรม, ป่าชุมชน เป็นต้น) เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้น
                  ในการตัดสินว่าพื้นที่นั้นมีความเหมาะสมในการปลูกพืชสมุนไพรหรือไม่ โดยอ้างอิงจากปริมาณของ
                  สาระส าคัญ ในกรณีที่ไม่มีข้อมูลเพียงพอ จ าเป็นต้องท างานวิจัยเพิ่มเติม

                              4. วิเคราะห์จัดเขตการใช้ที่ดินที่เหมาะสมส าหรับพืชสมุนไพรแต่ละชนิด โดยรวบรวม
                  และวิเคราะห์ข้อมูลจากข้อ 2 และ 3 ข้างต้นเพื่อสร้างแบบจ าลองพื้นที่ที่มีความเหมาะสมกับพืช
                  สมุนไพรแต่ละชนิด

                              5. จัดท าข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และตรวจสอบภาคสนามเพื่อวิเคราะห์
                  ความถูกต้องของแบบจ าลอง
                        3.2.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)
                            แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 เป็นแผนพัฒนาประเทศในระยะ 5 ปี
                  ซึ่งแปลงยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ประกอบด้วยยุทธศาสตร์

                  หลัก 10 ยุทธศาสตร์ ดังนี้
                              ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
                              ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ าในสังคม

                              ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจขมิ้นชัน                    กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78