Page 72 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจขมิ้นชัน
P. 72

3-18





                              แผนงานที่ 1 ส่งเสริมการปลูกและแปรรูปสมุนไพรอย่างมีคุณภาพ

                                ส่งเสริมการปลูกและการเก็บเกี่ยวสมุนไพรตามมาตรฐานที่ก าหนด (GAP/GACP,
                  เกษตรอินทรีย์ หรือระบบการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม (PGS)) ทั้งนี้ ตามศักยภาพและความ
                  ต้องการของตลาดจ านวน 43,000 ไร่ (ในรูปแปลงจ านวน 39,500 ไร่ และในป่าเศรษฐกิจชุมชน 70

                  แปลง 3,500 ไร่) รวมทั้งมีการแปรรูปเบื้องต้น และก าหนดมาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวสมุนไพร
                  ตามแนวทางสากล (GAP/GACP)
                              แนวทางด าเนินการ
                              1. ส่งเสริมการปลูกและขยายพันธุ์พืชสมุนไพร
                                1.1  ส่งเสริมการผลิตพืชสมุนไพรที่มีศักยภาพในการพัฒนาในเชิงเศรษฐกิจ โดย

                  เน้นพืชสมุนไพรที่มีการใช้หรือมีความต้องการในระดับอุตสาหกรรมและชุมชน และด าเนินการส่งเสริม
                  การปลูกสมุนไพรในรูปแบบแปลงใหญ่หรือเครือข่ายที่มีการบริหารจัดการร่วมกัน รวมถึงในแปลงทั่วไปที่
                  มีความเหมาะสมกับพื้นที่และการใช้ประโยชน์ของชุมชน จ านวนทั้งหมด 39,500 ไร่

                                1.2  ส่งเสริมการปลูกป่าเศรษฐกิจและการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์พืช
                  สมุนไพรในป่าเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน โดยวางแผนการอนุรักษ์และการน ามาใช้ ภายใต้การมีส่วนร่วมของ
                  ชุมชน เช่น ก าหนดชนิดและจ านวนสมุนไพรที่สามารถน ามาใช้ได้ การปลูกทดแทน การเก็บเกี่ยวที่
                  ถูกต้อง และด าเนินการภายใต้พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องจ านวนทั้งหมด 70 แปลง 3,500 ไร่

                                1.3  ส่งเสริมให้มีการขยายพันธุ์พืชสมุนไพร โดยกรมวิชาการเกษตรสนับสนุน
                  พันธุ์พืชที่ได้ผ่านการศึกษาวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีพันธุ์พืชสมุนไพรแล้ว เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลด
                  ต้นทุนการผลิต
                              2. ส่งเสริมการแปรรูปหลังการเก็บเกี่ยว ณ สถานที่ปลูก (On Site) และการผลิต

                  ผลิตภัณฑ์ และสารสกัดอย่างง่ายในระดับชุมชน
                                2.1  ส่งเสริมการใช้ระบบอบแห้งโดยพลังงานแสงอาทิตย์และอื่นๆ ที่เหมาะสม
                  ส าหรับสมุนไพร
                                2.2  บริหารจัดการเพื่อการแปรรูป โดยการใช้เครื่องจักรกล การบ ารุงรักษา

                  เครื่องมือในการแปรรูปสมุนไพร การถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีด้านการแปรรูปสมุนไพร การพัฒนา
                  ต่อยอดเทคโนโลยีที่ใช้ในกระบวนการผลิตและแปรรูปสมุนไพร เช่น ไพล, ขมิ้นชัน และมะนาว เป็นต้น
                                2.3  ส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรร สหกรณ์ วิสาหกิจชุมชน ด าเนินการแปรรูป

                  สมุนไพรให้ได้มาตรฐานคุณภาพตามที่ตลาดต้องการ
                              3. ก าหนดมาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวกลุ่มพืชสมุนไพรที่มีศักยภาพอย่างน้อย
                  30 ชนิด เพื่อน าไปใช้ในการส่งเสริมารปลุกและการเก็บเกี่ยวสมุนไพรให้มีคุณภาพ และส่งเสริมให้ผู้ผลิต
                  พืชสมุนไพร ได้รับการรับรอง โดยก าหนดมาตรฐานตามแนวทางสากล (GAP/GACP)
                              แผนงานที่ 2 จัดท าฐานข้อมูลพื้นที่ปลูกพืชสมุนไพร (Land Use) เพื่อการบริหารจัดการ

                                จัดท าข้อมูลพื้นที่ปลูกพืชสมุนไพรรายแปลง บันทึกเป็นฐานข้อมูล เพื่อใช้ส าหรับ
                  การบริหารการปลูกและเก็บเกี่ยวให้เพียงพอกับความต้องการของตลาด








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจขมิ้นชัน                    กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77