Page 63 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 63

3-13






                             ครัวเรือน
                       5,000




                       4,000                                               3,744
                                                                                        3,285
                                                             3,133

                       3,000                    2,677

                                   2,076
                       2,000




                       1,000



                           0
                                   2561         2562         2563          2564         2565


                  รูปที่ 3-8 จำนวนครัวเรือนเกษตรกร ผูปลูกมะพราวน้ำหอมบานแพว ป 2561-2565

                             6) ลำไยพวงทองบานแพว
                                ลำไยพวงทองบานแพว (Banphaeo Phuang Thong Longan และหรือ Lamyai Phuang
                                                                                                
                  Thong Banphaeo) หมายถึง ลำไยพันธุพวงทอง มีผิวเปลือกเรียบสีน้ำตาลออน ผลคอนขางเบี้ยว
                  เมล็ดขนาดเล็ก เนื้อหนา แหง ไมแฉะ เนื้อใสจนเห็นเมล็ด มีรสชาติกรอบหวาน ซึ่งปลูกในเขตอำเภอบานแพว
                                                                                                      
                  และอำเภอกระทุมแบนของจังหวัดสมทรสาคร
                                                 ุ
                                
                                ลำไยพวงทองบานแพว ไดการรับการขึ้นทะเบียนเปนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรจาก
                  กรมทรัพยสินทางปญญา เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ทะเบียนเลขที่ สช 63100145 มีเอกลักษณ 

                  โดดเดนเฉพาะตัว เนื้อแนน น้ำนิด ติดกาน หวานกรอบ เพาะปลูกจากดิน 3 น้ำ ไดแก น้ำจืด น้ำกรอย
                                                                                                     
                  และน้ำเค็ม ซึ่งดินในลักษณะนี้จะมีโพแทสเซียมสูง ทำใหลำไยพวงทองบานแพวมีรสชาติหวานแตกตาง
                  จากลำไยที่อื่น

                                จากขอมูลกรมสงเสริมการเกษตร ป 2565 มีเนื้อที่ปลูกลำไยพวงทองบานแพว 4,737 ไร
                  เนื้อที่ใหผล 4,346 ไร ผลผลิต 1,047 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 698 กิโลกรัมตอไร เมื่อพิจารณาขอมลยอนหลัง
                                                                                            
                                                                                              ู
                  ระหวาง ป 2560-2565 พบวา เนื้อที่ปลูก เนื้อที่ใหผล มีแนวโนมเพิ่มขึ้น คิดเปนรอยละ 24.65 และ
                  30.31 ตอป โดยป 2560 มีเนื้อที่ปลูก 1,499 ไร ป 2565 เพิ่มขึ้นเปน 4,737 ไร และ ป 2560 มีเนื้อที่ใหผล
                                                                                           ี
                                                                                     
                                     ิ
                                        ึ
                  1,166 ไร ป 2565 เพมข้นเปน 4,346 ไร แตในสวนของผลผลิตและผลผลิตตอไร มแนวโนมลดลง
                                     ่
                                                          ่
                                                          ี
                  คิดเปนรอยละ 14.07 และ 20.89 ตอป (ตารางท 3-9 และรูปที่ 3-9)
                                                
                                ในสวนของจำนวนครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกลำไยพวงทองบานแพว ป 2565 มีจำนวน
                                                                                                   
                  510 ครัวเรือน เมื่อพิจารณาขอมลยอนหลัง ระหวาง ป 2560-2565 พบวา จำนวนครัวเรือนเกษตรกรผูปลูก
                                            ู
                                         

                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68