Page 15 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 15

่
                                                         บทที 2
                                                      ขอมูลทั่วไป


               2.1   สภาพภูมิประเทศ

                     ขอมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ที่อยูในประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา
               กระทรวงพาณิชย ขอมูลสภาพการใชที่ดินจากกองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน และขอมล
                                                                                                        ู
                            ั
                                                                                                  ู
               แบบจำลองระดบสูงเชิงเลข (DEM) จากสำนักเทคโนโลยีการสำรวจและทำแผนที่ กรมพัฒนาที่ดิน ถกนำมาใช
               ในการศึกษาลักษณะภูมิประเทศทปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ซึ่งพืชแตละชนิดมีลักษณะที่แตกตางกนในแตละ
                                                                                                 ั
                                                                                                       
                                           ี่
               พื้นที่ มีรายละเอียดดังนี้
                           1)  สมโอนครชัยศรี
                             ลักษณะภูมิประเทศในขอบเขตพื้นที่การผลิตสมโอนครชัยศรีตามประกาศฯ ครอบคลุมพื้นท ่ ี
               อำเภอนครชัยศรี อำเภอสามพราน และอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยทั่วไปเปนที่ราบลุมของลุม

                                         ั
               แมน้ำนครชัยศรี มีตะกอนมาทบถมเมื่อเกิดฤดูน้ำหลาก สงผลใหมีธาตุอาหารตาง ๆ สะสมอยูในพื้นที่บริเวณ
               ดังกลาว ลักษณะภูมิประเทศสวนใหญมีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ คิดเปนรอยละ 59.32
               ของพื้นที่ (รูปที่ 2-1)

                           2)  พริกบางชาง
                             ลักษณะภูมิประเทศในขอบเขตพื้นที่การผลิตพริกบางชางตามประกาศฯ ครอบคลุมพื้นท    ่ ี

               อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี อำเภอบางคนที และอำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม สภาพพื้นท   ี ่
                                                                                                 ี
               โดยทั่วไปเปนพื้นที่ราบลุม มีแมน้ำแมกลองไหลผาน ลักษณะภูมิประเทศสวนใหญมีสภาพพื้นท่ราบเรียบ
               ถึงคอนขางราบเรียบ คิดเปนรอยละ 68.01 ของพื้นที่ (รูปที่ 2-2)

                           3)  ลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม

                                                        ื้
                                                           ี่
                              ลักษณะภูมิประเทศในขอบเขตพนทการผลิตลิ้นจี่คอมสมุทรสงครามตามประกาศ ครอบคลุม
                                                                       
               พื้นที่ตำบลบางขันแตก อำเภอเมือง อำเภออัมพวา และอำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เปนพื้นที่ที่เหมาะ
               แกการทำการเกษตรเนื่องจากมีแมน้ำลำคลองอยูในพื้นที่เปนจำนวนมาก ประกอบดวย แมน้ำแมกลอง
               คลองธรรมชาติและคลองขุดเชื่อมตอกันกวา 300 คลอง ทำหนาที่ระบายน้ำระหวางพื้นที่บนฝงและชายฝงทะเล
               สงผลใหดินบริเวณดังกลาวมีลักษณะเปนดินตะกอนทับถมเปนชั้น อุดมไปดวยอินทรียวัตถุ และมีธาตุอาหารสูง

               ไดแก ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) ซึ่งเหมาะแกการปลูกลิ้นจี่ ลักษณะภูมิประเทศสวนใหญมีสภาพ
               พื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ คิดเปนรอยละ 55.23 ของพื้นที่ (รูปที่ 2-3)

                           4)  สมโอขาวใหญสมุทรสงคราม
                             ลักษณะภูมิประเทศในขอบเขตพื้นที่การผลิตสมโอขาวใหญสมุทรสงครามตามประกาศ
               ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางขันแตก และตำบลทายหาด อำเภอเมือง ตำบลอัมพวา ตำบลสวนหลวง ตำบลทาคา
                                                                                                      
               ตำบลวัดประดู ตำบลเหมืองใหม ตำบลบางชาง ตำบลแควออม ตำบลปลายโพงพาง ตำบลบางแค และตำบล
               บางนางลี่ อำเภออัมพวา และอำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เปนพื้นที่ที่เหมาะแกการทำการเกษตร
               เนื่องจากมีแมน้ำลำคลองอยูในพื้นที่เปนจำนวนมาก ประกอบดวย แมน้ำแมกลอง คลองธรรมชาติและคลอง

               ขุดเชื่อมตอกันกวา 300 คลอง ลักษณะภูมิประเทศสวนใหญเปนพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ คิดเปน
               รอยละ 78.71 ของพื้นที่ (รูปที่ 2-4)





                                       
               แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20