Page 11 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 11

่
                                                         บทที 1
                                                          บทนำ


                  1.1  หลักการและเหตุผล

                        ประเทศไทยมีความไดเปรียบทางดานทรัพยากรธรรมชาติ และความเหมาะสมดานเกษตรกรรม
                                                                                                      ู
                  ดังนั้น การวางแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรตามศักยภาพของดินและที่ดิน และการพัฒนาฐานขอมล
                  พืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรของประเทศไทย มีสวนสำคัญที่จะทำให
                  ประเทศไทยมีการพัฒนาดานการเกษตรใหอยูในระดับที่สามารถแขงขันกับประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชีย
                                                                                   ี่
                             ้
                                                                       ี
                                                       ิ
                  ได นอกจากนี การอนุรักษพันธุพืชบงชี้ทางภูมศาสตรซึ่งเปนพืชที่มความโดดเดนทปลูกในประเทศไทยเพียง
                  แหงเดียว และการคุมครองทรัพยากรดินที่เหมาะสมสำหรับพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร พรอมทั้งสงเสริม
                  การปรับปรุงบำรุงดินใหมีสภาพเหมาะสมตอพืชดังกลาว เปนการขยายผลเพื่อพัฒนาแผนการผลิตพืชบงชี ้
                  ทางภูมิศาสตรไปในพื้นที่อื่น ๆ จะทำใหพันธุพืชบางชนิดกลับมามีความหลากหลายทางชีวภาพเชนเดิม
                  หากรัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนเพื่อเตรียมความพรอมใหแกเกษตรกรในจังหวัดตาง ๆ มีการปลูกพืชบงชี ้
                  ทางภูมิศาสตรโดยเจาหนาที่ภาครัฐและองคกรที่เกี่ยวของทุกภาคสวนรวมกันพัฒนาสินคาเกษตร

                  โดยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินคาเกษตรพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรใหไดมาตรฐาน จะชวยสนับสนุนให
                  เกษตรกรมีความมั่นคงและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ภายใตยุทธศาสตรการปรับโครงสรางสินคาเกษตร
                  ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งมีเปาหมายที่จะพัฒนาการเกษตรทั้งระบบเริ่มตั้งแตการผลิต
                                                                                
                                                                            
                                                                ั
                                                                     
                  การแปรรูป และการตลาดแบบครบวงจร เพอสรางความมนคงดานรายไดใหแกเกษตรกร
                                                     ื
                                                     ่
                                                                ่
                                                                       ิ
                        ดังนั้น เพื่อใหฐานขอมูลแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมศาสตรของประเทศไทยมีความถูกตอง
                  และเปนปจจุบัน สามารถใชสนับสนุนการตัดสินใจในการพัฒนาและสงเสริมพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  ใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ทางดานกายภาพ เพื่อคุมครองทรัพยากรดินที่เหมาะสมสำหรับพืชบงชี  ้
                  ทางภูมิศาสตร และสงเสริมการปรับปรุงบำรุงดินใหมีสภาพเหมาะสมตอพืชดังกลาว เพื่อรักษาคุณภาพ
                  ของผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรใหคงที่ ไดมาตรฐานการผลิต จะสงผลใหเกษตรกรมีรายได
                                                                                                       
                                                     ี
                  และความเปนอยูที่ดีขึ้นจากผลตอบแทนทเพิ่มขึ้น โดยใชปจจัยการผลิตอยางเหมาะสมตามศักยภาพ
                                                     ่
                                
                       ่
                  ของทีดิน กลุมวางแผนบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำ กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน จึงไดจัดทำโครงการ
                                                                   ึ
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทยขน
                                                                   ้
                  1.2  วัตถุประสงค   
                      1.2.1  เพื่อกำหนดแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และกำหนดแนวทางการใชที่ดิน
                  ตามศักยภาพของทรัพยากร เพื่อเปนฐานขอมูลในการผลิตสินคาเกษตรอัตลักษณพื้นถิ่นสำหรับ
                  โครงการแผนการใชที่ดินระดับตำบลที่ตองดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ
                        1.2.2  เพื่อคุมครองทรัพยากรดินที่เหมาะสมสำหรับพืชบงชี้ทางภูมศาสตร และสงเสริมการปรับปรุง
                                                                             ิ
                  บำรุงดินใหมีสภาพเหมาะสมตอพืชดังกลาวตลอดไป
                        1.2.3 เพื่อใชเปนกรอบแนวทางในการขยายผลแผนพัฒนาพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรในอนาคต
                  แบบบูรณาการ







                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                                         
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16