Page 13 - Plan GI
P. 13

บทที่ 1

                                                          บทนำ


                  1.1  หลักการและเหตุผล

                        ประเทศไทยมีความไดเปรียบทางดานของทรัพยากรธรรมชาติ และความเหมาะสมดานเกษตรกรรม
                  ดังนั้น การวางแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรตามศักยภาพของดินและที่ดิน และการพัฒนาฐานขอมูล

                  บงชี้ทางภูมิศาสตรจากโครงการแผนการใชที่ดินบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย มีสวนสำคัญ
                  ที่จะทำใหประเทศไทยมีการพัฒนาดานการเกษตรใหอยูในระดับที่สามารถแขงขันไดเมื่อเขาสูการเปน
                  ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทั้งนี้ กลุมวางแผนบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำ กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                  เห็นความสำคัญของการอนุรักษพันธุพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ซึ่งเปนพืชที่มีความโดดเดนที่ปลูกในประเทศ

                  ไทยเพียงแหงเดียว และเพื่อเปนการคุมครองทรัพยากรดินที่เหมาะสมสำหรับพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  พรอมทั้งสงเสริมการปรับปรุงบำรุงดินใหมีสภาพเหมาะสมตอพืชดังกลาวตลอดไป เพื่อขยายผลใน
                  การพัฒนาแผนการผลิตพืชไปในพื้นที่อื่น ๆ เปนการรักษาพันธุพืช และพัฒนาพันธุพืชบางชนิดใหกลับมา
                  มีความหลากหลายทางชีวภาพเชนเดิม ทั้งนี้รัฐบาลควรมีนโยบายสนับสนุนเพื่อเตรียมความพรอมใหแก

                  เกษตรกรในจังหวัดตาง ๆ ที่มีการปลูกพืช GI ดังกลาว โดยเจาหนาที่ภาครัฐและองคกรที่เกี่ยวของทุกภาค
                  สวนในการพัฒนาการผลิตสินคาเกษตรทั้งระบบ โดยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินคาเกษตรพืชบงชี้
                  ทางภูมิศาสตรใหไดมาตรฐาน เพื่อสนับสนุนใหเกษตรกรมีความมั่นคงและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ภายใต
                  ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางสินคาเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งมีเปาหมายที่จะพัฒนา

                  การเกษตรทั้งระบบเริ่มตั้งแตการผลิต การแปรรูป และการตลาดแบบครบวงจร เพื่อสรางความมั่นคง
                  ดานรายไดใหแกเกษตรกร
                        ดังนั้น เพื่อใหฐานขอมูลสารสนเทศพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย มีความถูกตอง

                  และเปนปจจุบัน สามารถใชสนับสนุนการตัดสินใจในการพัฒนาและสงเสริมพืช GI ใหเหมาะสมกับ
                  สภาพพื้นที่ทางดานกายภาพ เปนการคุมครองทรัพยากรดินที่เหมาะสมสำหรับพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  และสงเสริมการปรับปรุงบำรุงดินใหมีสภาพเหมาะสมตอพืชดังกลาว เพื่อรักษาคุณภาพของผลผลิตพืช GI
                  ใหคงที่ ไดมาตรฐานการผลิต อันจะสงผลใหเกษตรกรมีรายได และความเปนอยูที่ดีขึ้นจากการไดรับปริมาณ
                  ผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้น โดยใชปจจัยการผลิตอยางเหมาะสมตามศักยภาพของที่ดิน กลุมวางแผนบริหาร

                  จัดการพื้นที่ชุมน้ำ กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน จึงจำเปนตองจัดทำโครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทยขึ้น

                  1.2  วัตถุประสงค
                      1.2.1  เพื่อกำหนดแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และกำหนดแนวทางการใชที่ดิน
                  ตามศักยภาพของทรัพยากร เพื่อเปนฐานขอมูลในการผลิตสินคาเกษตรอัตลักษณพื้นถิ่นสำหรับ

                  โครงการแผนการใชที่ดินระดับตำบลที่ตองดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ
                        1.2.2  เพื่อกำหนดแผนคุมครองทรัพยากรดินที่เหมาะสมสำหรับพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                        1.2.3 เพื่อใชเปนกรอบแนวทางในการขยายผลแผนพัฒนาพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรในอนาคต

                  แบบบูรณาการ





                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย          กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18