Page 94 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 94

2-66





                  2.5   สภาพภูมิประเทศ


                        ข้อมูลพื้นที่เพาะปลูกพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์จากกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ข้อมูล
                  สภาพการใช้ที่ดินจากกองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน และข้อมูลแบบจ าลองระดับสูง
                  เชิงเลข (DEM) จากส านักเทคโนโลยีการส ารวจและท าแผนที่ กรมพัฒนาที่ดิน ถูกน ามาใช้ในการศึกษา
                  ลักษณะภูมิประเทศที่ปลูกพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ซึ่งพืชแต่ละชนิดมีลักษณะที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ของ

                  ประเทศ โดยมีการวิเคราะห์ระดับความลาดชันในพื้นที่สภาพการใช้ที่ดิน ที่มีการปลูกพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
                  อยู่จริง รายละเอียดดังภาคผนวก ค (ตารางผนวกที่ 1 ถึง ตารางผนวกที่ 5) และศึกษาลักษณะภูมิประเทศใน
                  ขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ตามประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา แบ่งการศึกษา

                  ลักษณะสภาพภูมิประเทศที่มีการขึ้นทะเบียนพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ออกเป็น 5 ภูมิภาค รายละเอียดดังนี้

                        2.5.1  ภาคเหนือ
                             พืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เลือกน ามาศึกษาจากภาคเหนือ มีจ านวน 8 ชนิดพืช ได้แก่ กล้วยไข่
                  ก าแพงเพชร ล าไยเบี้ยวเขียวล าพูน สับปะรดนางแล สับปะรดภูแลเชียงราย ลิ้นจี่แม่ใจพะเยา สับปะรดห้วยมุ่น
                  มะขามหวานเพชรบูรณ์ และข้าวก่ าล้านนา

                             1) กล้วยไข่ก้าแพงเพชร
                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกกล้วยไข่ก าแพงเพชร พื้นที่จังหวัดก าแพงเพชรมี
                  ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม มีสลับพื้นที่สูงต่ าบ้างเล็กน้อย มีแม่น้ าปิงไหลผ่านเป็นระยะทาง
                  ยาวประมาณ 104 กิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ

                  คิดเป็นร้อยละ 49.70 ของพื้นที่ รองลงมาเป็นพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน พื้นที่
                  ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน พื้นที่เนินเขา คิดเป็นร้อยละ 20.84 19.61 5.44 2.28 และ 0.23
                  ของพื้นที่ตามล าดับ (รูปที่ 2.5-1)

                             2) ล้าไยเบี้ยวเขียวล้าพูน
                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกล าไยเบี้ยวเขียวล าพูน ครอบคลุมพื้นที่ 6 ต าบล ใน
                  อ าเภอเมือง จังหวัดล าพูน มีลักษณะเป็นที่ราบเล็กๆ ได้แก่ ที่ราบลุ่มแม่น้ า และที่ราบขั้นบันไดระดับ
                  ต่างๆ ซึ่งที่ราบดังกล่าว เกิดจากการทับถมของตะกอนที่แม่น้ าพามาในที่ราบลุ่ม ลักษณะภูมิประเทศมี
                  สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ คิดเป็นร้อยละ 97.29 ของพื้นที่ และพื้นที่น้ า คิดเป็นร้อยละ

                  2.71 ของพื้นที่ (รูปที่ 2.5-2)
                             3) สับปะรดนางแล
                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกสับปะรดนางแล พื้นที่ต าบลนางแล อ าเภอเมือง

                  จังหวัดเชียงราย มีลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม ที่ราบเชิงเขา เนินเขา และภูเขาสูง มีแนวเขา
                  อยู่ในด้านทิศตะวันตก มีความสูงจากระดับน้ าทะเลปานกลางโดยเฉลี่ย 400 เมตร ลักษณะภูมิประเทศ
                  ส่วนใหญ่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ คิดเป็นร้อยละ 38.76 รองลงมาคือ พื้นที่ลาดชัน
                  เชิงซ้อน พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน พื้นที่เนินเขา และพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย

                  คิดเป็นร้อยละ 31.26 15.17 6.83 3.24 และ 3.18 ของพื้นที่ตามล าดับ (รูปที่ 2.5-3)
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99