Page 276 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 276

2-248





                                     ทางน้ าสายหลักและทางน้ าที่มีน้ าไหลตลอดปี มีจ านวน 66 แหล่งน้ า เช่น

                  คลองตรอน คลองน้ ามืด น้ าพาย น้ าสุม ห้วยขมิ้น ห้วยขาตูบ ห้วยคว าเรือ ห้วยคว่ าเรือ ห้วยคอม และ
                  ห้วยงาช้าง เป็นต้น
                                   - แหล่งน้้าที่มนุษย์สร้างขึ้น ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกกล้วยไข่ก าแพงเพชร

                  มีจ านวน 2 แหล่งน้ า ได้แก่ อ่างเก็บน้ าห้วยนา และอ่างเก็บน้ าห้วยเนียม
                               (2) แหล่งน้้าใต้ดิน
                                 - บ่อบาดาลเพื่อการอุปโภคและบริโภค เป็นน้ าจืดที่มีสถานะใช้การได้ จ านวน 1 บ่อ
                             7) มะขามหวานเพชรบูรณ์
                               (1) แหล่งน้้าผิวดิน

                                   - แหล่งน้้าตามธรรมชาติ ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกมะขามหวานเพชรบูรณ์
                  มีจ านวน 312 แหล่งน้ า ได้แก่
                                     ทางน้ าสายหลักและทางน้ าที่มีน้ าไหลตลอดปี มีจ านวน 289 แหล่งน้ า เช่น

                  แม่น้ าป่าสัก ล ากังหันใหญ่ ล าก าเหียง ล าจังหัน ล าตะคล้อ ล าสระหัว คลองก้นหวด คลองกรวด คลอง
                  กระจัง คลองกระติน คลองกระทือ สระบึงนาจาน สระปรางค์ สระปรือน้อย สระยางลาด สระระหาร
                  สระหนองปอ สระหลวง ห้วยกระโจม ห้วยทุ่งแฝก ห้วยไทรทอง ห้วยนานอก และห้วยนาใน เป็นต้น
                                     หนอง บึง ที่มีน้ าตลอดปี มีจ านวน 23 แหล่งน้ า ได้แก่ บึงกระจับ บึงตะโก บึงตะแบก

                  บึงละลมเล็ก บึงละลมใหญ่ บึงสามพัน บึงห้วยเล็ง หนองกันเจม หนองแจง หนองฉิม หนองช้างล่ม หนองเซ
                  หนองทุ่งช้างร้อง หนองน้ าเขียว หนองบัวทอง หนองปล้อง หนองปลาไหล หนองผักบุ้ง หนองไผ่แตก หนอง
                  มะลืน หนองหมอกอง หนองหัวช้าง หนองหิน และบึงอ้อ เป็นต้น
                                   - แหล่งน้้าที่มนุษย์สร้างขึ้น ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกมะขามหวานเพชรบูรณ์

                  มีจ านวน 8 แหล่งน้ า ได้แก่ คลองสิบสลึง อ่างเก็บน้ า อ่างเก็บน้ ากุฏิพระ อ่างเก็บน้ าคลองกระทือ อ่างเก็บน้ า
                  บ้านคลองตะพานหิน อ่างเก็บน้ าบ้านโคกเจริญ อ่างเก็บน้ าวังอ่าง และอ่างเก็บน้ าอู่เรือ
                               (2) แหล่งน้้าใต้ดิน
                                 - บ่อบาดาลเพื่อการอุปโภคและบริโภค เป็นน้ าจืดที่มีสถานะใช้การได้ จ านวน 241 บ่อ

                                 - บ่อบาดาลเพื่อการเกษตร จ านวน 18 บ่อ
                             8) ข้าวก่้าล้านนา
                               (1) แหล่งน้้าผิวดิน

                                   - แหล่งน้้าตามธรรมชาติ ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกข้าวก่ าล้านนา มีจ านวน 6,344
                  แหล่งน้ า ได้แก่
                                     ทางน้ าสายหลักและทางน้ าที่มีน้ าไหลตลอดปี มีจ านวน 5,974 แหล่งน้ า เช่น
                  กว๊านพะเยา กิ่งน้ าปายน้อย กีงน้ าแม่ลายน้อย น้ ากุ๋ย น้ าเกาะหลวง น้ าเกี๋ยน น้ าแก่น ห้วยเย็น ห้วยเย้าด า
                  ห้วยเยี่ยม ห้วยอังวะ ห้วยอ๊าก ห้วยอากอง ห้วยอ่าง ห้วยอ่างกาน้อย ห้วยอ่างข่าง ห้วยอาน ห้วยอ้าย

                  ห้วยอ้ายใต้ ห้วยอ้ายเหนือ และห้วยอ่างตอง เป็นต้น
                                     หนอง บึง ที่มีน้ าตลอดปี มีจ านวน 370 แหล่งน้ า เช่น หนองระก า หนองละมั่ง
                  หนองลานตาจัน หนองสะแก หนองหัวเวียน บึงทับแรด บึงน้อย บึงพรานอบ บึงสักขี บึงสามวาย บึงหนองเต่า

                  บึงหล่ม บึงหวายพระอง และบึงอ้อ เป็นต้น
   271   272   273   274   275   276   277   278   279   280   281