Page 273 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 273

2-245





                  2.7   ทรัพยากรน้้า

                        ทรัพยากรน้ า หมายถึง แหล่งต้นตอของน้ าที่เป็นประโยชน์หรือมีศักยภาพที่จะก่อให้เกิดประโยชน์
                  แก่มนุษย์ ทรัพยากรน้ ามีความส าคัญเนื่องจากน้ าเป็นสิ่งจ าเป็นต่อการด ารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด

                  และมนุษย์ได้มีการน าน้ ามาใช้ในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการใช้น้ าในโรงงานอุตสาหกรรม การอุปโภค-
                  บริโภคในอาคารบ้านเรือน กิจกรรมนันทนาการต่างๆ รวมไปถึงด้านการเกษตรกรรม ซึ่งน้ ามีความส าคัญ
                  อย่างยิ่งในการด าเนินกิจกรรมการเกษตร เนื่องจากน้ าเป็นปัจจัยหลักส าหรับการเพาะปลูกพืช การปลูก
                  พืชที่มีน้ าเพียงพอ ธาตุอาหารอุดมสมบูรณ์ และสภาพดินฟ้าอากาศที่เหมาะสม จะสามารถสังเคราะห์

                  แสง เพื่อสร้างอาหารน าไปใช้ในการเจริญเติบโตและสามารถเก็บสะสมอาหาร เพื่อให้ผลผลิตได้อย่าง
                  เต็มที่ โดยแหล่งน้ าที่เกษตรกรน ามาใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรแบ่งได้เป็น 2 แหล่งหลักๆ ด้วยกัน ได้แก่
                  แหล่งน้ าผิวดิน และแหล่งน้ าใต้ดิน
                        แหล่งน้้าผิวดิน พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้ให้

                  ค าจ ากัดความของ แหล่งน้ าผิวดิน หมายถึง แม่น้ า ล าคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ อ่างเก็บน้ า และแหล่ง
                  น้ าสาธารณะอื่นๆ ที่อยู่ภายในผืนแผ่นดิน ซึ่งหมายความรวมถึงแหล่งน้ าสาธารณะที่อยู่ในผืนแผ่นดินบน
                  เกาะด้วย แต่ไม่รวมถึงน้ าบาดาล และในกรณีที่แหล่งน้ านั้นอยู่ติดกับทะเลให้หมายความถึงแหล่งน้ าที่อยู่
                  ภายในปากแม่น้ าหรือปากทะเลสาบ (ปากแม่น้ าและปากทะเลสาบให้ถือแนวเขตตามที่กรมเจ้าท่า

                  ก าหนด) ดังนั้นน้ าผิวดิน (Surface water) คือ น้ าที่เกิดจากน้ าฝนที่ตกลงมาแล้วดินไม่สามารถดูดซับไว้
                  ได้หมด ซึ่งเป็นแหล่งน้ าที่อยู่บนพื้นโลกที่มีปริมาณมากที่สุด มีทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น แม่น้ า
                  ล าคลอง ทะเล ห้วย หนอง และบึง เป็นต้น และแหล่งน้ าที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น เขื่อน ฝายอ่างเก็บน้ า

                  และคลองชลประทาน เป็นต้น
                        แหล่งน้้าใต้ดิน น้ าใต้ดินหรือน้ าบาดาล (groundwater) หมายถึง น้ าที่ขังอยู่ในช่องว่างของดิน
                  หรือหิน และยังหมายถึงน้ าที่ไหลอยู่ภายในชั้นหินอุ้มน้ า หรือชั้นน้ า (Aquifer) ซึ่งอยู่ต่ ากว่าระดับน้ าใต้
                  ดิน (water table) เป็นน้ าจืดอีกแหล่งที่มนุษย์น ามาใช้ในการอุปโภคและบริโภค ซึ่งแหล่งน้ าใต้ดินที่
                  เกษตรกรน ามาใช้เรียกว่า น้ าบาดาล คือ น้ าใต้ดินที่อยู่ลึกลงไปในดิน ๑๕๐ - ๒๐๐ เมตร ซึ่งขังอยู่ในชั้น

                  ของทราย เป็นอ่างที่เก็บน้ าไว้ได้เป็นปริมาณมาก
                  น้ าพุและน้ าบาดาลเป็นน้ าสะอาด ไม่มีเชื้อโรค เพราะน้ าทั้งสองชนิดนี้ไหลซึมผ่านผิวดินลงไปในระดับลึก
                  ดินจะท าหน้าที่เป็นตัวกรองเอาสารที่แขวนลอยอยู่ในน้ าและเชื้อโรคไว้เกือบหมด ส่วนบรรดาสารอินทรีย์

                  บางชนิดที่ละลายอยู่ในน้ าจะถูกแบคทีเรียในดินท าลายไปเกือบหมดด้วยเช่นกัน
                        แหล่งน้ าผิวดินทั้งที่เป็นแหล่งน้ าตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น และแหล่งน้ าใต้ดิน ได้แก่ บ่อ
                  บาดาลเพื่อการอุปโภค-บริโภค และบ่อบาดาลเพื่อการเกษตร ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกพืชบ่งชี้ทาง
                  ภูมิศาสตร์แต่ละชนิด มีรายละเอียดโดยแบ่งเป็นกลุ่มหลักรายภาค แสดงตามชนิดพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์

                  ดังนี้
                        2.7.1  ภาคเหนือ
                             พืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เลือกน ามาศึกษาจากภาคเหนือ มีจ านวน 8 ชนิดพืช ได้แก่ กล้วย
                  ไข่ก าแพงเพชร ล าไยเบี้ยวเขียวล าพูน สับปะรดนางแล สับปะรดภูแลเชียงราย ลิ้นจี่แม่ใจพะเยา

                  สับปะรดห้วยมุ่น มะขามหวานเพชรบูรณ์ และข้าวก่ าล้านนา
   268   269   270   271   272   273   274   275   276   277   278