Page 132 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 132

2-104






                        2.5.4  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                             พืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เลือกน ามาศึกษาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีจ านวน 8 ชนิด
                  พืช ได้แก่ ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ หอมแดงศรีสะเกษ กระเทียมศรีสะเกษ ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะ
                  เกษ สับปะรดท่าอุเทน ลิ้นจี่นครพนม ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ และส้มโอทองดีบ้านแท่น

                             1)  ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์
                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ ครอบคลุมพื้นที่ 7

                  อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอเมืองบุรีรัมย์ อ าเภอห้วยราช อ าเภอประโคนชัย อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ และอ าเภอ
                  ปะค า อ าเภอละหานทราย และอ าเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่มีสภาพพื้นที่
                  ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ คิดเป็นร้อยละ 59.81 รองลงมาคือพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย พื้นที่
                  ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน และพื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน คิดเป็นร้อยละ 25.48 6.42 3.34 และ

                  0.50 ของพื้นที่ตามล าดับ (รูปที่ 2.5-31)
                             2)  หอมแดงศรีสะเกษ

                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกหอมแดงศรีสะเกษ ครอบคลุมพื้นที่อ าเภอเมืองศรีสะ
                  เกษ อ าเภอราษีไสล อ าเภอยางชุมน้อย อ าเภอกันทรารมย์ อ าเภออุทุมพรพิสัย อ าเภอวังหิน และอ าเภอ
                  พยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ คิดเป็น

                  ร้อยละ 73.57 และพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย คิดเป็นร้อยละ 22.55 ของพื้นที่ (รูปที่ 2.5-32)
                             3)  กระเทียมศรีสะเกษ

                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกกระเทียมศรีสะเกษ ครอบคลุมพื้นที่อ าเภอเมืองศรีสะ
                  เกษ อ าเภอราษีไสล อ าเภอยางชุมน้อย อ าเภอกันทรารมย์ อ าเภออุทุมพรพิสัย อ าเภอวังหิน และอ าเภอ
                  พยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ คิดเป็น

                  ร้อยละ 73.57 และพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย คิดเป็นร้อยละ 22.55 ของพื้นที่ (รูปที่ 2.5-33)
                             4)  ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ

                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ ครอบคลุมพื้นที่อ าเภอขุน
                  หาญ อ าเภอกันทรลักษ์ และอ าเภอศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ ในพื้นที่อ าเภอขุนหาญและอ าเภอกันทร
                  ลักษ์ เป็นที่ราบสูงดินสีแดงอุดมสมบูรณ์ ทางทิศใต้และทิศตะวันออกเป็นภูเขาสูงลาดต่ าลงมาทางทิศ

                  เหนือ ซึ่งเป็นพื้นที่ราบเชิงเขา เหมาะส าหรับการปลูกพืชไร่และพืชสวน ส่วนพื้นที่อ าเภอศรีรัตนะเป็น
                  พื้นที่ราบลุ่ม สภาพพื้นที่เหมาะแก่การท านาและการปลูกพืชผัก บริเวณทิศใต้เป็นพื้นที่สูงเหมาะแก่การ
                  ปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย คิดเป็นร้อยละ

                  37.09 รองลงมาคือพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน
                  พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน และพื้นที่เนินเขา คิดเป็นร้อยละ 31.97 15.16 7.38 4.64 และ 1.04 ของพื้นที่
                  ตามล าดับ (รูปที่ 2.5-34)
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137