Page 59 - รายงานการศึกษาการประเมินแนวโน้มและทิศทางการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน
P. 59

- 19 -



                                                             2548







                                                                  27%




                                                                                                       ปาไม้
                                                                                                        ่
                                               73%
                                                                                                       ที่ท ากิน












               รูปที่ 5.20: สัดส่วนการใช้ประโยชน์ที่ดินและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ปี พ.ศ. 2548

                        ตามกรอบเวลาการศึกษา พ.ศ. 2525–2564


                   5.1.5 ผลการวิเคราะห์แนวโน้มการใช้ที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจ  ตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป
                                                                           6
               เป็นดังนี้
                       1) ปี พ.ศ. 2549: มันสำปะหลัง (54%) นาข้าว (15%) อ้อย (10%) ป่าไม้ (7%) และอื่น ๆ (14%)

               ดังรูปที่ 5.21

                       2) ปี พ.ศ. 2551: มันสำปะหลัง (55%) นาข้าว (17%) อ้อย (10%) ยางพารา (4%) ป่าไม้ (4%)
               และอื่น ๆ (10%) ดังรูปที่ 5.22

                       3)  ปี พ.ศ. 2553: ยางพารา (59%) มันสำปะหลัง (13%) นาข้าว (13%) ปาล์มน้ำมัน (1%) อ้อย

               (0.00%) ป่าไม้ (2%) และอื่น ๆ (12%) ดังรูปที่ 5.23
                       4)  ปี พ.ศ. 2556: ยางพารา (53%) มันสำปะหลัง (21%) นาข้าว (15%) ปาล์มน้ำมัน (2%) อ้อย

               (0.00%) ป่าไม้ (2%) และอื่น ๆ (7%) ดังรูปที่ 5.24

                       5)  ปี พ.ศ. 2558: ยางพารา (47%) มันสำปะหลัง (23%) นาข้าว (14%) ปาล์มน้ำมัน (2%) อ้อย
               (2%) ป่าไม้ (3%) และอื่น ๆ (9%) ดังรูปที่ 5.25

                       6)  ปี พ.ศ. 2560: ยางพารา (56%) มันสำปะหลัง (17%) นาข้าว (14%) ปาล์มน้ำมัน (2%) อ้อย
               (4%) ป่าไม้ (2%) และอื่น ๆ (5%) ดังรูปที่ 5.26







               6  การศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในพื้นที่ศึกษา คทช. ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าดงหมู เกษตรกรมีการใช้ที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจสำคัญ 5 ชนิด คือ
               มันสำปะหลัง อ้อย นาข้าว ยางพารา และปาล์มน้ำมัน
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64