Page 56 - รายงานการศึกษาการประเมินแนวโน้มและทิศทางการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน
P. 56

- 16 -





                       120


                       100


                        80
                     เนื้อที่ (ไร่)  60



                        40


                        20


                        0
                             2530   2535   2540   2543  2548   2549   2551   2553  2556   2558   2560   2562

                                                                  ป พ.ศ.
                                                                   ี
                                                                           ่
                                                                            ้
                                           ั
                                          สก    ไม้ละเมาะ   ไม้ยืนต้นผสม  ไรราง   ทุ่งหญา ้

               รูปที่ 5.15: แนวโน้มและทิศทางการใช้ประโยชน์ที่ดินรูปแบบอื่น ๆ พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าดงหมู
                       ตามกรอบเวลาการศึกษา พ.ศ. 2525–2564


                   5.1.4 ปี พ.ศ. 2530 หลังประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2529 พบว่าพื้นที่ศึกษา คทช.

               ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าดงหมู ท้องที่ตำบลอุ่มเหม้า อำเภอธาตุพนม มีเนื้อที่ป่าคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 92 และ
               เป็นพื้นที่ทำกินอื่น ๆ ร้อยละ 8 โดยพื้นที่ทำกินมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในระยะ 4 ช่วงปี คือระหว่าง

               พ.ศ. 2535 2540 2543 และ 2548  ดังรูปที่ 5.16–5.20
                                             4
                                                              5

















               4  เป็นระยะที่ระบบการแปลแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศให้เป็นข้อมูลดิจิทัลไม่รองรับการแปลผลระดับที่ 3
               5  ผลการแปลภาพถ่ายเป็นข้อมูลดิจิทัลการใช้ที่ดิน แสดงภาพรวมการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่า (Forest Change) ในพื้นที่ศึกษา คทช. ป่าสงวนแห่งชาติ
               ป่าดงหมู พบว่าเนื้อที่ป่ามีแนวโน้มลดลงตลอดระยะเวลาของกรอบการศึกษา ปี พ.ศ. 2525–2564 ปรากฏในภาคผนวก 4
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61