Page 180 - รายงานการศึกษาการประเมินแนวโน้มและทิศทางการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน
P. 180

1) ความเข้มของแสงอาทิตย์ (radiation regime) : u

                  2) อุณหภูมิ (temperature regime) : t
                  3) ความชุ่มชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช (moisture availability ) : m

                  4) ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช (oxygen availability to root) : o

                  5) ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร (nutrient availability) : s
                  6) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (nutrient retention capacity) : n

                  7) สภาวะการหยั่งลึกของราก (rooting condition) : r
                  8) สภาวะที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด (conditions affecting germination) : g

                  9) ความชื้นในอากาศที่มีผลต่อการเจริญเติบโต (air humidity as affecting growth) : h

                  10) สภาวะการสุกแก่ (conditions for ripening ) : i
                  11) ความเสียหายจากน้ำท่วม (flood hazard) : f

                  12) ความเสียหายจากภูมิอากาศ (climatic hazard) : c
                  13) การมีเกลือมากเกินไป (excess of salts ) : x

                  14) สารพิษ (soil toxicities) : z

                  15) โรคและศัตรูพืช (pests and diseases) : p
                  16) สภาวะการเขตกรรม (soil workability) : k

                  17) ศักยภาพการใช้เครื่องจักร (potential for mechanization) : w

                  18) สภาวะสำหรับการเตรียมที่ดิน (conditions for land preparation) : v
                  19) สภาวะสำหรับการเก็บกักและแปรรูป (conditions for storage and processing) : q

                  20) สภาวะที่มีผลต่อเวลาให้ผลผลิต (conditions affecting timing of production) : y
                  21) การเข้าถึงพื้นที่ (access within the production unit) : a

                  22) ขนาดของหน่วยศักยภาพการจัดการ (size of potential management units) : b

                  23) ที่ตั้ง (location) : l
                  24) ความเสียหายจากการกัดกร่อน (erosion hazard) : e

                  25) ความเสียหายจากการแตกทำลำย (degradation hazard) : d


            8.3  ระดับความเหมาะสมของที่ดิน

                  ในการประเมินคุณภาพที่ดิน หรือประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจตามหลักการ
            FAO Framework 1983 จะพิจารณาว่าพืชแต่ละชนิดมีความต้องการคุณภาพดินที่เหมาะสมแต่ละชนิดอยู่ในระดับใด

            (Crop Requirement) แล้วนำมาเปรียบเทียบกับคุณภาพที่ดินแต่ละชนิด (Land Quality) ของหน่วยที่ดิน (Land Unit)
            ที่ต้องการศึกษาว่าจะตกอยู่ในระดับความเหมาะสม (Land Suitability Rating) ระดับใด ซึ่งหลักการ FAO Framework

            ค.ศ. 1983 ได้จำแนกอันดับความเหมาะสมของที่ดินสอดคล้องกับระดับความต้องการปัจจัยคุณภาพที่ดินของแต่ละ

            ประเภท การใช้ประโยชน์ที่ดินที่แตกต่างกัน และได้จำแนกอันดับความเหมาะสมของที่ดินเป็น 2 อันดับ (Order) ดังนี้
   175   176   177   178   179   180   181   182