Page 15 - รายงานประจำปี 2565
P. 15

ขั้นตอนและวิธีด าเนินการ:
                             1. การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน

                             การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ระหว่างข้อมูลการใช้ที่ดิน พ.ศ. 2555-2565 ด้วยระบบ
               สารสนเทศภูมิศาสตร์โดยการซ้อนทับข้อมูล (Overlay) และวิเคราะห์เชิงพื นที่ (Spatial Analysis) ท้าให้ได้
               ความสัมพันธ์ระหว่างประเภทการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงพื นที่ปลูกปาล์มน ้ามัน โดยพิจารณาจากประเภท
               การใช้ที่ดิน 7 ประเภท ได้แก่ ปาล์มน ้ามัน ยางพารา พื นที่เกษตรอื่น ๆ พื นที่ป่าไม้ พื นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง
               พื นที่เบ็ดเตล็ด และพื นที่แหล่งน ้า

                             2. การคาดการณ์แนวโน้นการใช้ที่ดินเพื่อปลูกปาล์มน ้ามัน
                             การคาดการณ์แนวโน้นการใช้ที่ดินเพื่อปลูกปาล์มน ้ามันด้วยแบบจ้าลอง Land Change Modeler
               (LCM) โดยใช้โปรแกรม IDRISI TerrSet พัฒนาโดย Clark Labs, Clark University ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นเครื่องมือ

               ที่ใช้ในการสนับสนุนการวางแผนและการตัดสินใจการใช้ที่ดิน ซึ่งมีความซับซ้อนของการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง
               การใช้ที่ดินและการคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน (Clark, 2017)
                              การศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินโดยแบบจ้าลอง LCM มีขั นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี
                              - การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง (Change Analysis) โดยการวิเคราะห์จากข้อมูลการใช้ที่ดิน

               สองช่วงเวลา (T 1 - T 2) ได้แก่ ในช่วงเวลา พ.ศ. 2555-2560 เพื่อศึกษาวิเคราะห์พื นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน
               ในแต่ละช่วงปี
                              - ศักยภาพในการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน (Transition Potential) โดยศักยภาพในการเปลี่ยนแปลง
               จะต้องใช้ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินหรือตัวแปรที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ นในอนาคต หลังจาก

               โปรแกรมได้ท้าการทดสอบและคัดเลือกปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินแล้วแบบจ้าลอง LCM
               จะใช้โครงข่ายประสาทเทียมแบบ Multi-Layer Potential (MPL) ในการสร้างแผนที่ศักยภาพการใช้ที่ดินแต่ละ
               ประเภทในอนาคต
                              - การคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในอนาคต (Change Prediction) ในการศึกษานี

               ท้าการคาดการณ์การใช้ที่ดินใน พ.ศ. 2565 โดยการคาดการณ์แนวโน้มการใช้ที่ดินนี ด้วยการบ่งชี การเปลี่ยนแปลง
               เชิงปริมาณจากแผนที่การใช้ที่ดินในช่วงสองเวลา และคาดการณ์ความต้องการของการใช้ที่ดินในอนาคตด้วย
               วิธีการมาร์คอฟ ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้นั นจะอยู่ในรูปแบบเมตริกความน่าจะเป็นของการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินใน

               แต่ละประเภท น้าค่าดังกล่าวไปใช้ในการคาดการณ์การใช้ที่ดินใน พ.ศ. 2565 ต่อไป
                              - วิเคราะห์รูปแบบการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในช่วงระยะเวลาตั งแต่ พ.ศ. 2555-2560 และ
               ค้านวณพื นที่การใช้ที่ดินแต่ละประเภท พ.ศ. 2565 แสดงผลในรูปของแผนที่และน้าผลที่คาดการณ์การใช้ที่ดิน
               มาใช้ในการวิเคราะห์ต่อไป
                             3. การประเมินค่าความถูกต้องของแบบจ้าลอง

                             การตรวจสอบค่าความถูกต้องของแบบจ้าลองการใช้ที่ดิน พ.ศ. 2565 โดยใช้เทคนิคการซ้อนทับ
               ระหว่างแผนที่การใช้ที่ดินที่ได้จากแบบจ้าลองและแผนที่การใช้ที่ดิน ปี พ.ศ. 2565 จากกองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
               น้าผลลัพธ์ที่ได้มาค้านวณค่าความถูกต้องทั งหมด (Overall Accuracy)

                             ความถูกต้องรวม (Overall Accuracy) คือ อัตราส่วนของจ้านวนกริดที่เครื่องจ้าแนกได้ถูกต้อง
               ต่อผลรวมจ้านวนกริดที่น้ามาจ้าแนกประเภทและค้านวณออกมาเป็นร้อยละ มีรูปแบบสมการดังนี



                       13
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20