Page 67 - ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจข้าวนาปี
P. 67

3-17





                   ตารางที่ 3-9 (ต่อ)

                                                                                             หน่วย: ต่อไร่
                                                      พื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมทางกายภาพ
                            รายการ              สูง (S1)     ปานกลาง (S2)    เล็กน้อย (S3)    เฉลี่ย
                                              บาท    ร้อยละ   บาท   ร้อยละ   บาท   ร้อยละ   บาท   ร้อยละ
                   3. ต้นทุนคงที่           1,099.04   25.08  1,137.23   28.65  1,072.47   26.64  1,121.13   27.58
                     3.1 ภาษีที่ดิน            5.00    0.45   5.00   0.44     5.00   0.47    5.00   0.45
                     3.2 ค่าใช้ที่ดิน         933.98   84.98   985.16   86.63   989.72   92.28   974.71   86.94
                     3..3 ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์การเกษตร   50.32   4.58   44.81   3.94   25.54   2.38   43.63   3.89
                     3.4 ค่าเสียโอกาสเงินลงทุน   109.74   9.99   102.26   8.99   52.21   4.87   97.79   8.72
                            อุปกรณ์การเกษตร (6.50%)
                   4. ต้นทุนต่อหน่วย (บาท/กก.)   5.94         7.16           10.44          7.09
                   5. ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย (บาท/กก.)   4.45       5.11       7.66           5.14
                   ที่มา: จากการคำนวณ (2565) กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
                               4.2) ผลตอบแทนและความคุ้มค่าทางด้านเศรษฐกิจ (ตารางที่ 3-10)

                                    วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ราคาข้าวเปลือกหอมมะลิที่เกษตรกรจำหน่ายได้ ณ ไร่นา
                  เฉลี่ย 9.06 บาทต่อกิโลกรัม
                                    (1) พื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมทางกายภาพสูง (S1)

                                         เกษตรกรได้ผลผลิต 737.33 กิโลกรัมต่อไร่ มีมูลค่าผลผลิต 6,680.21
                  บาทต่อไร่ ส่งผลให้ได้รับผลตอบแทนเหนือต้นทุนเงินสด 4,054.34 บาทต่อไร่ ผลตอบแทน
                  เหนือต้นทุนผันแปร 3,397.48 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 2,298.44 บาทต่อไร่
                  ผลตอบแทนต่อหน่วย 3.12 บาทต่อกิโลกรัม กำไรส่วนเกินต่อหน่วย 4.61 บาทต่อกิโลกรัม ระดับผลผลิต
                  คุ้มทุน 238.40 กิโลกรัมต่อไร่ และมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio) เท่ากับ 1.52

                                    (2) พื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมทางกายภาพปานกลาง (S2)
                                         เกษตรกรได้ผลผลิต 554.49 กิโลกรัมต่อไร่ มีมูลค่าผลผลิต 5,023.68
                  บาทต่อไร่ ส่งผลให้ได้รับผลตอบแทนเหนือต้นทุนเงินสด 2,548.29 บาทต่อไร่ ผลตอบแทน

                  เหนือต้นทุนผันแปร 2,190.85 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 1,053.62 บาทต่อไร่
                  ผลตอบแทนต่อหน่วย 1.90 บาทต่อกิโลกรัม กำไรส่วนเกินต่อหน่วย 3.95 บาทต่อกิโลกรัม ระดับผลผลิต
                  คุ้มทุน 287.91 กิโลกรัมต่อไร่ และมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio) เท่ากับ 1.27
                                    (3) พื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมทางกายภาพเล็กน้อย (S3)

                                         เกษตรกรได้ผลผลิต 385.56 กิโลกรัมต่อไร่ มีมูลค่าผลผลิต 3,493.17
                  บาทต่อไร่ ส่งผลให้ได้รับผลตอบแทนเหนือต้นทุนเงินสด 619.40 บาทต่อไร่ ผลตอบแทน
                  เหนือต้นทุนผันแปร 540.44 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดขาดทุน 532.03 บาทต่อไร่
                  ผลตอบแทนต่อหน่วยขาดทุน 1.38 บาทต่อกิโลกรัม กำไรส่วนเกินต่อหน่วย 1.40 บาทต่อกิโลกรัม

                  ระดับผลผลิตคุ้มทุน 766.05 กิโลกรัมต่อไร่ และมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio) เท่ากับ 0.87
                                    (4) เฉลี่ย
                                         เกษตรกรได้ผลผลิต 573.27 กิโลกรัมต่อไร่ มีมูลค่าผลผลิต 5,193.83
                  บาทต่อไร่ ส่งผลให้ได้รับผลตอบแทนเหนือต้นทุนเงินสด 2,637.63 บาทต่อไร่ ผลตอบแทน

                  เหนือต้นทุนผันแปร 2,249.68 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 1,128.55 บาทต่อไร่
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72