Page 61 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี
P. 61

บทที 5
                                                              ่

                                             การใชที่ดินพื้นที่ชมน้ำระดับทองถิ่น
                                                             ุ
                                   
                  5.1  พื้นที่ชุมน้ำทองถิ่น
                        การกำหนดเขตการใชที่ดินพื้นที่ชุมน้ำระดับทองถิ่นในบริเวณพื้นที่จังหวัดนนทบุรี จากรายงาน
                  วางพื้นที่ชุมน้ำระดับทองถิ่นจังหวัดนนทบุรี ป 2566 มีเนื้อที่ 388,939 ไรหรือ 622.303 ตารางกิโลเมตร

                                                                      
                  สามารถกำหนดเขตการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดนนทบุรี ไดดังตารางที่ 5-1 โดยมีรายละเอียดดังนี้
                      5.1.1 พื้นที่ชุมน้ำระดับทองถิ่น
                          การดำเนินการจัดทำพื้นที่ชุมน้ำระดับทองถิ่นจังหวัดนนทบุรี ไดพืนที่ชุมน้ำ (Wetland)
                                                                                     ้
                  แหลงน้ำธรรมชาติ

                             จังหวัดนนทบุรี เปนจังหวัดที่ตั้งอยูบนฝงแมน้ำเจาพระยา ซึ่งแบงพื้นทออกเปน 2 สวน คอ
                                                                                                      ื
                                                                                      ี่
                  ฝงตะวันออกและฝงตะวันตก พื้นที่สวนใหญจึงเปนที่ราบลุม มีคูคลองธรรมชาติ และที่ขุดขึ้นใหมเปน
                  จำนวนมาก คลองมีทั้งระยะทางสั้นและระยะทางยาวเชื่อมตอกัน ใชเปนเสนทางในการสัญจรไปมา และ
                  เอื้ออำนวยตอ การเกษตรในพื้นที่ตางๆ แหลงน้ำที่สำคัญ มีดังนี้

                             แมน้ำเจาพระยา ไหลผานจังหวัดนนทบุรี ตั้งแต อำเภอปากเกร็ด ผานอำเภอเมองนนทบุรี
                                                                                              ื
                  และเขาสู กรุงเทพมหานคร ตามลำดับ
                                                             ี่
                             จังหวัดนนทบุรี มีคลองสงน้ำเขาสูพื้นทการเกษตรที่สำคัญ ไดแก  
                                                                                                      
                             1) คลองบางขุนศรี รับน้ำจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผานประตูระบายน้ำขุนศรีผานเขา
                  คลองแยกในพื้นที่ตำบลไทรใหญ และตำบลราษฎรนิยม
                             2) คลองลากคอน ครอบคลุมพื้นที่บางสวนของตำบลราษฎรนิยม
                                         
                             3) คลองพระพิมล รับน้ำจากคลองญี่ปุนใต ในจังหวัดนครปฐมมีประตูเก็บกักน้ำอยูท ่ ี

                  อำเภอบางบัวทอง กอนปลอยลงสูแมน้ำเจาพระยา จายน้ำครอบคลุมพื้นที่อำเภอบางใหญ อำเภอบางบัว
                  ทอง นับวาเปนคลองชลประทานสายหลักของจังหวัด
                             4) คลองบางใหญ รับน้ำบางสวนจากคลองโพงของจังหวัดนครปฐม
                             5) คลองมหาสวัสดิ์ เปนคลองชลประทานมีอยูตอนใตสุดของจังหวัดนนทบุรีมีประตูน้ำ
                  ฉิมพลีชวยเก็บกักระบายน้ำ ใชในเขตพื้นที่อำเภอบางกรวยทั้งหมด

                             พื้นที่สวนใหญของจังหวัดนนทบุรีอยูในเขตพื้นที่ชลประทาน โดยมีโครงการชลประทานท ่ ี
                  รับผิดชอบแจกจายน้ำเขาพื้นที่เกษตรของจังหวัดนนทบุรี 3 โครงการ คือ โครงการชลประทานนนทบุรี
                  ครอบคลุมพื้นที่อำเภอเมืองนนทบุรี อำเภอปากเกร็ด อำเภอบางบัวทอง อำเภอบางกรวย และอำเภอ

                  บางใหญ สวนโครงการสงน้ำและบำรุงรักษาพระยาบรรลือ ครอบคลุมพื้นที่อำเภอไทรนอย อำเภอ
                                                                                                     ิ
                             บางบัวทอง และบางสวนของอำเภอปากเกร็ดและโครงการสงน้ำและบำรุงรักษาพระพมล
                  ครอบคลุมพื้นที่อำเภอบางใหญ อำเภอบางกรวย และบางสวนของอำเภอบางบัวทองแหลงน้ำใตดิน
                             แหลงน้ำใตดินของจังหวัดนนทบุรี มีระดับความลึกสวนใหญอยูในชวง 10-45 เมตร

                  แบงเปน 2 ประเภท คือประเภทใหปริมาณน้ำนอย พบใน อำเภอไทรนอย อำเภอบางบัวทอง และ
                  อำเภอบางกรวย โดยทั่วไปเปนแหลงน้ำใตดินที่มคณภาพดี อัตราการไหล 1-30 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง
                                                          ี
                                                           ุ
                  แตในบางพื้นที่คุณภาพน้ำปานกลาง เนื่องจากมีตะกอนของสนิมเจือปนอยู
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66