Page 23 - Wetland Ratchaburi
P. 23

2-11





                                      - ใชเครื่องมือ อุปกรณดับไฟปาใหทันสมัยและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ที่

                  เปนพื้นที่ชุมน้ำ
                            (16)  ใหมีการศึกษาและจัดทำแผนกายภาพ ออกแบบภูมิทัศนบริเวณโดยรอบและใน
                  บริเวณใกลเคียงพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและระดับชาติทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

                  เพื่ออนุรักษและฟนฟูพื้นที่ดังกลาวทั้งระบบ
                            (17)  ใหจัดทำรายงานการประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ำ
                  จากมติคณะรัฐมนตรี โดยติดตามตรวจสอบจากหนวยงานหลักเสนอตอคณะอนุกรรมการการจัดการพื้นที่
                  ชุมน้ำเปนประจำ

                  2.3  การดำเนินงานพื้นที่ชุมน้ำ

                      ตั้งแต พ.ศ. 2536 คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติไดจัดตั้งคณะอนุกรรมการการจัดการ
                  พื้นที่ชุมน้ำขึ้น โดยมีสำนักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอมรับผิดชอบเปนฝายเลขานุการ
                  คณะอนุกรรมการการจัดการพื้นที่ชุมน้ำ ตอมามีการปรับปรุงใหมเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2558 มีรองปลัด
                  กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกลุมภารกิจที่เกี่ยวของเปนประธาน มีอำนาจหนาที่ดังนี้

                        1) เสนอกฎระเบียบ นโยบายและแผนแหงชาติ ตลอดจนแนวทางสำหรับการจัดการและ
                  คุมครองพื้นที่ชุมน้ำของประเทศไทย เพื่อการใชประโยชน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน

                        2)  สนับสนุนและสงเสริมการดำเนินงานในพื้นที่ชุมน้ำ ใหเปนไปตามกฎระเบียบนโยบายแหงชาติ
                  และแนวทางอยางมีประสิทธิผล
                        3) สนับสนุน กำกับดูแล ติดตามตรวจสอบการดำเนินงานตามพันธกรณี ของอนุสัญญาวาดวย
                  พื้นที่ชุมน้ำ และความตกลงระหวางประเทศที่เกี่ยวของ
                        4) สนับสนุนการสรางจิตสำนึก การใหการศึกษาเกี่ยวกับการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ำ ตลอดจน
                  การศึกษาวิจัยดานตางๆ ที่เกี่ยวของ

                        5) สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของทุกภาคสวน โดยเฉพาะชุมชน ในการแกไขปญหา
                  ที่เกี่ยวของกับพื้นที่ชุมน้ำ

                        6) สนับสนุนความรวมมือหรือความเปนพันธมิตร กับหนวยงานและองคกรที่เกี่ยวของ
                  จากภายในและตางประเทศ
                        7) แตงตั้งคณะทำงานเพื่อใหปฎิบัติงานตามที่เห็นสมควร
                        8) ปฎิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติมอบหมาย
                      ภายใตการดำเนินการของอนุกรรมการ การจัดการพื้นที่ชุมน้ำ ไดจัดตั้งคณะทำงานวิชาการ

                  พื้นที่ชุมน้ำเพื่อทำหนาที่หลักในการกลั่นกรองแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ำ หรือใหคำปรึกษา
                  ดานวิชาการที่เกี่ยวของกับพื้นที่ชุมน้ำกอนนำเรื่องเสนออนุกรรมการพื้นที่ชุมน้ำโดยมีผูอำนวยการสำนัก
                  ความหลากหลายทางชีวภาพ รับผิดชอบเปนฝายเลขานุการคณะทำงานวิชาการพื้นที่ชุมน้ำ
                  มีอำนาจหนาที่ ดังนี้

                        1) ใหคำปรึกษาดานวิชาการที่เกี่ยวของกับการจัดการพื้นที่ชุมน้ำในประเทศไทย
                  ตอคณะอนุกรรมการการจัดการพื้นที่ชุมน้ำ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28