Page 16 - Wetland Ratchaburi
P. 16

2-4





                  (Siebenroekiella crassicollis) ตะโขง (Tomistoma schlegelii) และจระเขน้ำ (Crocodylus porocus)

                  สถานภาพใกลถูกคุกคาม เชน นกเหยี่ยวหัวปลาใหญหัวเทา (Lchthyophaga ichthyaetus) นกโพระดก
                  หลากสี (Megalaima raffesii) นกหัวขวานสามนิ้วหลังสีไพร (Dinopium raffesii) นอกจากนี้ยังมีกลุม
                  สังคมพืชที่ซับซอน ทั้งพืชยืนตน พืชลมลุก เฟรนตางๆ ขึ้นอยูอยางหนาแนน มีพันธุไมเฉพาะถิ่นอยางนอย

                  50 ชนิด พบนกอยางนอย 217 ชนิด ปลาอยางนอย 62 ชนิด สัตวเลี้ยงลูกดวยนม 59 ชนิด
                  สัตวเลื้อยคลาน52 ชนิด สัตวสะเทินน้ำสะเทินบก 19 ชนิด
                              (7)   พื้นที่ชุมน้ำอุทยานแหงชาติหาดเจาไหม เขตหามลาสัตวปาหมูเกาะลิบง-
                  ปากแมน้ำตรัง

                                  ตั้งอยูอำเภอสิเกาและอำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ประกอบดวยระบบนิเวศ
                  3 ลักษณะ คือ แมน้ำ ปากแมน้ำ และชายฝงทะเล ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวาง
                  ประเทศ เปนลำดับที่ 1,182 เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 เนื้อที่ 515,745 ไร ความสำคัญที่จัดเปน
                  พื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ ไดแก ประกอบดวยพื้นที่ชุมน้ำหลากหลายรูปแบบ เชน

                  ปาชายเลน ปาจาก หาดเลนหาดทราย แนวปะการังและแหลงหญาทะเล เปนที่อยูอาศัยของชนิดพันธุที่
                  หายากและอยูในสถานภาพถูกคุกคามหลายชนิด พบนกอยางนอย 212 ชนิด โดยหาดเจาไหมเปนแหลง
                  ทำรังวางไขแหงเดียวของนกกระสาคอดำใน (Malay peninsular) มีความหลากหลายของชนิดพันธุพืช
                  และสัตว นอกจากนี้ยังเปนบริเวณที่มีความหลากหลายของหญาทะเลอยางนอย 8 ชนิด เชน หญาเตา

                  (Thalassia hemprichii) หญาชะเงาใบขาว (Enhalus acoroides) ระบบนิเวศนี้มีความสำคัญตอ
                  สิ่งมีชีวิตอื่นๆ โดยเปนแหลงอาหารแหลงหลบภัย แหลงอนุบาลสัตวน้ำวัยออนโดยเฉพาะปลา กุง ปู และ
                  พะยูน (Dugong dugon) พบปลาอยางนอย 75 ชนิด สัตวสะเทินน้ำสะเทินบก 13 ชนิด สัตวเลื้อยคลาน
                  39 ชนิด และสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ำนม 22 ชนิด

                              (8)   พื้นที่ชุมน้ำอุทยานแหงชาติแหลมสน-ปากแมน้ำกระบุรี-ปากคลองกะเปอร
                                  ตั้งอยูอำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง เปนปาชายเลนผืนใหญที่สุดที่เหลืออยู
                  ของประเทศไทยและเขตอินโดแปซิฟก ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ
                  ลำดับที่ 1,183 เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2545 เนื้อที่ 677,625 ไร ความสำคัญที่จัดเปนพื้นที่ชุมน้ำ

                  ระหวางประเทศ คือ เปนพื้นที่ชุมน้ำที่ประกอบดวยระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ำหลายแบบผสมผสานกัน
                  ไดแก หาดเลน หาดทราย แหลงปะการัง แหลงหญาทะเล และปาชายเลนดึกดำบรรพที่สุด มีความ
                  สมบูรณมากแหงหนึ่งของประเทศ พบตนโกงกางขนาดใหญที่มีอายุมากกวา 300 ป เปนแหลงที่อยูอาศัย

                  ของชนิดพันธุที่อยูในสถานภาพใกลสูญพันธุอยางยิ่ง คือ นกยางจัน (Egretta eulophotes) สถานภาพ
                  ใกลถูกคุกคาม คือ เหยี่ยวแดง (Haliatu rindus) เหยี่ยวหนาเทา (Butastus indicus) และสถานภาพ
                  มีแนวโนมใกลสูญพันธุ คือ นกกระเต็นใหญปกสีน้ำตาล (Haleyon amauroptera) เปนแหลงที่มี
                  ความหลากหลายทางชีวภาพสูงมาก พบนกอยางนอย 50 ชนิด สัตวที่อาศัยอยูหนาดินและในดิน 77 ชนิด
                  ปลามากกวา 82 ชนิด พบแหลงหญาทะเลบริเวณบานบางจากและบานหาดทรายดำ

                              (9)   พื้นที่ชุมน้ำอุทยานแหงชาติหมูเกาะอางทอง
                                  ประกอบดวยเกาะตางๆ 42 เกาะ ที่มีขนาดเล็กและขนาดกลางอยูเปนกลุมเกาะ
                  กลางทะเลในแนวเหนือ-ใต เปนเขาหินปูนสูงชันตั้งอยูในอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21