Page 43 - Lower Songkhram River Basin
P. 43

2-27





                          2) น้ำใตดิน จากขอมูลธรณีสัณฐานมาตราสวน 1: 1,000,000 กรมทรัพยากรธรณี (2563)

                  นำมาวิเคราะหชั้นน้ำที่พบในพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง มีรายละเอียดดังนี้ (รูปที่ 2-10)
                            (1)   ชั้นหินอุมน้ำตะกอนน้ำพา (Qfd) ประกอบดวย กรวดทราย ทรายแปง และดินเหนียว
                  โดยชั้นน้ำบาดาลจะเก็บอยูในชองระหวางเม็ดกรวด และเม็ดทรายที่สะสมตัวอยูในที่ราบลุมน้ำหลากหรือ

                  รองน้ำเกา ใหน้ำประมาณ 2–10 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง ที่ระดับความลึกประมาณ 10-40 เมตร คุณภาพน้ำดี
                            (2)   ชั้นหินอุมน้ำหินชุดมหาสารคาม (Ms) ประกอบดวยชั้นเกลือหิน (rock salt)
                  เปนลักษณะเดน แทรกสลับดวยหินทราย หินทรายแปง หินดินดาน สีน้ำตาลแดง มวงแดง รวมถึงชั้นยิปซัม
                  และแอนไฮไดรต มักพบทั่วไปภายในแองโคราช และแองสกลนคร มีอายุประมาณยุคครีเทเชียส ตอนปลาย

                  (Upper Cretaceous) โดยทั่วไปปริมาณน้ำอยูในเกณฑ 2-10 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมงแตในบางพื้นที่
                  จะมีปริมาณน้ำมากกวา 20 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง

                  ตารางที่ 2-10  ชั้นหินอุมน้ำในพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง

                   สัญลักษณ                      คำอธิบาย                       เนื้อที่ (ไร)   รอยละ

                      MS       ชั้นหินอุมน้ำหินชุดมหาสารคาม                       540,026       95.29

                      Qfd      ชั้นหินอุมน้ำตะกอนน้ำพา                             26,696        4.71

                                          ผลรวมทั้งหมด                             566,722     100.00
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48