Page 131 - กำหนดเขตที่ดินทำกิน โครงการรักษ์น้ำเพื่อพระเเม่ของแผนดิน
P. 131

ผ-5






                    1.5    พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 5 หมายถึง สภาพพื้นที่เป็นที่ราบถึงที่ราบลุ่ม หรือบางแห่งอาจจะเป็นเนิน

                  ลาดเอียงเล็กน้อย ส่วนใหญ่ป่าจะถูกบุกรุกแผ้วถางไปจนหมดแล้วแปรสภาพที่ดินเป็นพื้นที่ส าหรับท า
                  เกษตรกรรมโดยเฉพาะการท านา และกิจกรรมอื่นๆ  และไม่จ าเป็นต้องมีมาตรการป้องกันการชะล้าง
                  พังทลายของหน้าดิน



                  2. ข้อก าหนดการใช้ประโยชน์ของพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ า
                    2.1    ข้อก าหนดการใช้ประโยชน์พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1
                        สามารถจ าแนกย่อยได้ 2 ชั้นคุณภาพ ได้แก่
                        1) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1 เอ ซึ่งจะมีพื้นที่ทั้งป่าค่อนข้างอุดมสมบูรณ์แผ่ปกคลุมไปทั่วบริเวณ มี

                  ข้อก าหนดการใช้ประโยชน์ ดังนี้
                          (1) ห้ามมิให้เปลี่ยนแปลงลักษณะพื้นที่ป่าเป็นรูปแบบอื่นอย่างเด็ดขาด ทั้งนี้เพื่อรักษาป่าไว้เป็น
                  พื้นที่ต้นน้ าล าธารอย่างแท้จริง

                          (2) ให้กรมป่าไม้บ ารุงรักษาป่าธรรมชาติที่มีอยู่ และระงับการท าไม้โดยเด็ดขาด และ
                  ให้ด าเนินการป้องกันการลักลอบตัดไม้ท าลายป่าอย่างเข้มงวดและกวดขัน
                          (3) การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินใดๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1 เอ ภายหลังปี พ.ศ.2526
                  ก าหนดให้ใช้มาตรการดังนี้ หากก าหนดเป็นลุ่มน้ าชั้น 1 เอ ไปแล้วภายหลังส ารวจพบว่าเป็นที่รกร้าง

                  ว่างเปล่าหรือป่าเสื่อมโทรม ให้กรมป่าไม้ด าเนินการปลูกสร้างป่าทดแทนต่อไป
                          (4) การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินใดๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1 เอ ภายหลังปี พ.ศ.2526
                  ก าหนดให้ใช้มาตรการดังนี้ หากพื้นที่ก าหนดเป็นลุ่มน้ าชั้น 1 เอ ไปแล้วเป็นบริเวณที่มีประชาชนอาศัยอยู่
                  ดั้งเดิมอย่างถาวร ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด าเนินการจัดที่ท ากินให้เป็นการถาวรเพื่อป้องกันการโยกย้ายและ

                  ท าให้การท าลายป่าขยายแนวออกไป
                        2) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1 บี ซึ่งเป็นพื้นที่ปราศจากป่าปกคลุม มีข้อก าหนดในการใช้ประโยชน์ ดังนี้
                          (1) พื้นที่ใดมีการเปลี่ยนสภาพเพื่อประกอบการเกษตรรูปแบบต่างๆ ไปแล้วให้หน่วยงาน
                  ที่เกี่ยวข้องร่วมกันพิจารณาก าหนดการใช้ที่ดินให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลด้านเศรษฐกิจ สังคม

                  และสภาพแวดล้อม
                          (2) พื้นที่ใดที่มีการพัฒนาเพื่อท าเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจรูปแบบต่างๆ ไปแล้ว หากมีการ
                  ปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงใดๆ จะต้องด าเนินการวางแผนการใช้ที่ดินให้สอดคล้องกับสภาพธรรมชาติ ใน

                  ลักษณะเอื้ออ านวยต่อการรักษาดุลยภาพของลักษณะนิเวศวิทยาและการอนุรักษ์ธรรมชาติ
                          (3) พื้นที่ใดไม่เหมาะสมต่อการเกษตรหรือการพัฒนาในรูปแบบอื่นๆ ให้กรมป่าไม้ด าเนินการ
                  ปลูกป่าเพื่อฟื้นฟูสภาพต้นน้ าล าธาร
                          (4) ในกรณีที่ต้องมีการก่อสร้างถนนผ่านเข้าไปในพื้นที่ลุ่มน้ าชั้นนี้หรือการท าเหมืองแร่
                  หน่วยงานที่รับผิดชอบในโครงการจะต้องด าเนินการควบคุมการชะล้างพังทลายของดินที่เกิดขึ้น

                  ในบริเวณโครงการ เนื่องจากการปฏิบัติในระหว่างการด าเนินการและภายหลังเสร็จสิ้นโครงการไม่ให้มี
                  ตะกอนไหลลงสู่แม่น้ าจนท าให้เกิดอันตรายแก่สัตว์น้ าและไม่สามารถน ามาอุปโภคบริโภคได้
                          (5) ในกรณีที่หน่วยงานราชการใดจ าเป็นต้องใช้ที่ดินในชั้นคุณภาพลุ่มน้ านี้อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่ง

                  โครงการนั้นส าคัญต่อเศรษฐกิจและความมั่นคงของชาติแล้ว ในส่วนราชการเจ้าของโครงการฯ จะต้อง
   126   127   128   129   130   131   132   133   134