Page 5 - กำหนดเขตที่ดินทำกิน โครงการขยายผลโครงการหลวงเพื่อแก้ปัญหาพื้นที่ปลูกฝิ่นอย่างยั่งยืน
P. 5

1





                                                                                               บทนํา


                                               ฐานขอมูลและกําหนดขอบเขตที่ดินทํากินและแผนการใชที่ดิน

                               ในพื้นที่โครงการขยายผลโครงการหลวงเพื่อแกไขปญหาพื้นที่ปลูกฝนอยางยั่งยืน



                      หลักการและเหตุผล
                        จากการสํารวจของสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด พบวามีการเปดพื้นที่
                      ปลูกฝนเพิ่มมากขึ้นในบางพื้นที่ โดยผลการสํารวจในชวงเดือนกันยายน–มกราคม 2560 พบการปลูกฝน
                      ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม ตาก แมฮองสอน เชียงราย และกําแพงเพชร ทั้งหมด จํานวน 1,955  แปลง
                      รวม 1,599.60 ไร โดยในจํานวนนี้ พื้นที่จังหวัดเชียงใหม จํานวน 1,356 แปลง 1,034.80 ไร จังหวัดตาก
                      จํานวน 514 แปลง 476.34 ไร จังหวัดแมฮองสอน จํานวน 52 แปลง 39.12 ไร สวนจังหวัดกําแพงเพชร
                      พบจํานวน 20 แปลง 39.63 ไร จังหวัดเชียงราย พบจํานวน 13 แปลง 9.71 ไร เนื่องจากผูปลูกฝนได

                      พยายามพัฒนาเทคนิค วิธีการปลูกฝน เพื่อเพิ่มผลผลิตอีกทั้งพยายามหลีกเลี่ยงการสํารวจพบ และการ
                      ตัดทําลาย ทั้งมีปจจัยสําคัญคือการมีกลุมนายทุนและผูมีอิทธิพลสงเสริมสนับสนุนการปลูกฝน
                      ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติดจําเปนที่จะตองเพิ่มประสิทธิภาพการแกไข
                      ปญหาโดยเนนการใชมาตรการบังคับใชกฎหมายใหเปนไปอยางเขมงวดและตอเนื่อง  ภายใตนโยบาย
                      “ประชารัฐรวมใจ หมูบาน ชุมชนปลอดภัยยาเสพติด”  ของรัฐบาลในการสรางจิตสํานึกการไมไปยุง
                      เกี่ยวกับฝน และการคืนผืนปาตนน้ํา
                        แผนแมบทโครงการขยายผลโครงการหลวงเพื่อแกปญหาพื้นที่ปลูกฝนอยางยั่งยืน ในระยะที่ 1

                      (พ.ศ.2553-2556) มีวัตถุประสงคเพื่อใหชุมชนที่มีปญหาการปลูกฝนซ้ําซากไดรับการพัฒนา โดยอาศัย
                      ความรูที่เหมาะสม มีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น สามารถพึ่งพาตนเองไดในระยะยาว ไมตองพึ่งการปลูกฝน
                      และคายาเสพติด มีกระบวนการชุมชนที่เขมแข็งในการปองกันการแพรระบาดของยาเสพติด รวมทั้ง
                      ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดรับการฟนฟูและบริหารจัดการโดยชุมชนอยางมีสวนรวม ครอบคลุม
                      115 หยอมบาน ใน 15 ตําบล ของ 7 อําเภอ ในเขตพื้นที่ 3 จังหวัด ไดแก เชียงใหม แมฮองสอน และ
                      ตาก ดังนั้น เพื่อใหเกิดความตอเนื่องของการพัฒนาในทุกมิติทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอมและ
                      การแกไขปญหายาเสพติด จึงไดมีการขยายระยะเวลาการดําเนินการเพิ่มเติม โดยจัดทําแผนแมบท
                      โครงการฯ ระยะที่ 2 (พ.ศ.2557-2561) พรอมทั้งใหมีการเพิ่มพื้นที่พัฒนาในชุมชนที่มีความเสี่ยงที่จะ
                      กอใหเกิดปญหาการแพรระบาดของฝนและยาเสพติด จํานวน 11 หยอมบาน ใน 5 ตําบล 3 อําเภอ 2

                      จังหวัด โดยนําแนวทางการพัฒนาโครงการจากแผนแมบทระยะที่ 1 เปนกลไกการขับเคลื่อนโครงการ
                      โดยใหชุมชนและหนวยงานสวนทองถิ่นมีบทบาทมากขึ้น ดังนั้น พื้นที่เปาหมายดําเนินงานตามแผน
                      แมบทโครงการฯ ระยะที่ 2 ครอบคลุม 126 หยอมบาน ใน 18 ตําบล 7 อําเภอ ในเขตพื้นที่ 3 จังหวัด
                      ไดแก เชียงใหม แมฮองสอน และตาก  เพื่อนําไปสูการจัดการพื้นที่ที่เหมาะสมตามศักยภาพของพื้นที่
                      โครงการและแกปญหาการปลูกฝน การแพรระบาดของฝนและยาเสพติดตอไป
                        กรมพัฒนาที่ดินซึ่งมีภารกิจหลักในการดําเนินการเรื่องการอนุรักษดินและน้ําไดเตรียมจัดทําแผนงาน
                      พรอมกรอบงบประมาณ เพื่อดําเนินงานจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําโดยกําหนดขอบเขตพื้นที่เตรียมการ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10