Page 157 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 157

4-19






                              –  นอรมัลฟอรมที่ 1 (First Normal Form : 1NF)

                              –  นอรมัลฟอรมที่ 2 (Second Normal Form : 2NF)

                              –  นอรมัลฟอรมที่ 3 (Third Normal Form : 3NF)
                              –  บอยซคอดดนอรมัลฟอรม (Boyce-Codd Normal Form : BCNF)
                              –  นอรมัลฟอรมที่ 4 (Fourth Normal Form : 4NF)

                              –  นอรมัลฟอรมที่ 5 (Fifth Normal Form : 5NF)






















                  รูปที่ 4-7 ขั้นตอนการทำ Normalization
                        ถึงแมวาการนอรมัลไลเซชัน จะเปนสิ่งสำคัญและจำเปนที่สุดสำหรับการออกแบบฐานขอมูล

                  แตก็ไมไดหมายความวาจะตองทำการนอรมัลไลเซชันจนถึงระดับนอรมัลฟอรมที่ 5 โดยทั่วไป
                  การแสดงผลขอมูลจากตารางที่อยูในนอรมัลฟอรมที่ 5 จะมีการเชื่อมตอตารางเปนจำนวนมาก
                  ทำใหการแสดงผลและการโตตอบระหวางระบบฐานขอมูลกับผูใชกระทำไดชา การออกแบบฐานขอมูล

                  ที่ดีจึงตองพิจารณาถึงความตองการของผูใชและตองสามารถตอบสนองไดอยางรวดเร็ว เพราะฉะนั้น
                  ในบางกรณีจึงมีการลดระดับการนอรมัลไลเซชันในบางสวนของการออกแบบฐานขอมูล
                  เพื่อใหระบบสามารถตอบสนองไดตามความตองการของผูใช การลดระดับการนอรมัลไลเซชัน
                  (Denormalization) เปนวิธีการลดระดับของนอรมัลฟอรมลงมา เชน การแปลงจาก 3NF มาเปน 2NF
                  อยางไรก็ตาม สิ่งที่จะไดรับเพิ่มขึ้นมาจากการลดระดับการนอรมัลไลเซชัน นอกจากความเร็วที่ดีขึ้นแลว

                  ความซ้ำซอนของขอมูลก็เพิ่มสูงขึ้นดวย ซึ่งเปนสิ่งที่ควรนำมาพิจารณาอยางระมัดระวัง (ชาคริต, 2556)

                  4.4 สราง Model Builder ดวยการเขียน Geoprocessing Script
                        การเขียน Geoprocessing Script ดวย ArcGIS โปรแกรมทางดาน GIS จะมีสวนที่ผูใชสามารถเขียน
                  โปรแกรมเพิ่มเติมลงไปซึ่งมีวิธีการแตกตางกัน ในแตละซอฟตแวร ปจจุบันการเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมนั้นมัก

                  นิยมเขียนโปรแกรมดวยภาษา Python ซึ่งทำใหนักพัฒนาโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมไดสะดวก
                  มากขึ้นเพราะไมจำเปนตองศึกษาภาษาใหมทั้งหมด เพียงแตมีความรูดานการเขียนโปรแกรมภาษา Python
                  และมาศึกษา Object ตาง ๆ ของโปรแกรมทางดาน GIS ก็สามารถพัฒนาโปรแกรมเพิ่มเติมใหตรงกับ
                  ความตองการของผูใชงานได ซึ่งไดเรียนรูการพัฒนาโปรแกรมเพื่อทำงานกับขอมูล GIS ตามความตองการของผูใช

                  ซึ่งมีแบบฝกหัด (Demo) ครบทุกสวนของโปรแกรมทางดาน GIS เชน สวนแสดงผลขอมูลแผนที่





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162